ดูเพิ่ม: เขี้ยว

ภาษาไทย

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เขียว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkǐao
ราชบัณฑิตยสภาkhiao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰia̯w˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข
 
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia
 
สีเขียว

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *xiəwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับ ภาษาคำเมือง ᨡ᩠ᨿᩅ (ขยว), ภาษาปักษ์ใต้ เขี้ยว, ภาษาลาว ຂຽວ (ขย̂ว), ภาษาเขิน ᨡ᩠ᨿᩴ (ขยํ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦃᧁ (เฃว), ภาษาไทดำ ꪵꪄꪫ (แฃว), ภาษาไทขาว ꪄꪸꪫ, ภาษาไทใหญ่ ၶဵဝ် (เขว), ภาษาอาหม 𑜁𑜢𑜈𑜫 (ขิว์), ภาษาจ้วง heu, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง keu; เทียบภาษาเขมรเก่า khiava (น้ำเงิน; เขียว), ภาษาเขมร ខៀវ (เขียว), ภาษาไหลดั้งเดิม *kʰiːw (น้ำเงิน)

คำคุณศัพท์

แก้ไข

เขียว (คำอาการนาม ความเขียว)

  1. มีสีอย่างสีใบไม้สด
    สุดหล้าฟ้าเขียว
    โกรธจนหน้าเขียว
  2. (โบราณ) น้ำเงิน, คราม

คำพ้องความ

แก้ไข
ดูที่ อรรถาภิธาน:เขียว
ดูเพิ่ม
แก้ไข
สีในภาษาไทย
     แดง      เขียว      เหลือง      ครีม      ขาว
     เลือดหมู      บานเย็น      น้ำเงินอมเขียว      มะนาว      ชมพู
     คราม      น้ำเงิน      ส้ม      เทา      เม็ดมะปราง
     ดำ      ม่วง      น้ำตาล      ฟ้า      ฟ้าอมเขียว

รากศัพท์ 2

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *xwiːwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ขิว, ภาษาลาว ຂິວ (ขิว) หรือ ຂີວ (ขีว), ภาษาไทใหญ่ ၶဵဝ် (เขว)

คำคุณศัพท์

แก้ไข

เขียว (คำอาการนาม ความเขียว)

  1. กลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นใบไม้สดบางชนิด
    เหม็นเขียว
  2. (ความหมายนี้พิสูจน์(+)ได้ไหม) (โบราณ) เหม็นเน่า

รากศัพท์ 3

แก้ไข
 
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

จากผิวของสัตว์ที่มีสีเขียว

คำนาม

แก้ไข

เขียว

  1. ชื่องูสีเขียวหลายชนิดและหลายวงศ์ เช่น เขียวพระอินทร์ (Chrysopelea ornata) เขียวหางไหม้ท้องเหลือง (Trimeresurus albolabris)
คำเกี่ยวข้อง
แก้ไข

รากศัพท์ 4

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂຽວ (ขย̂ว)

คำกริยา

แก้ไข

เขียว

  1. (โบราณ) รีบไป, รีบมา
คำพ้องความ
แก้ไข