ยา
ภาษาไทยแก้ไข
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | ยา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | yaa |
ราชบัณฑิตยสภา | ya | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /jaː˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1แก้ไข
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ˀjɯəᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩀᩣ (ย̱า), ภาษาลาว ຢາ (ยา), ภาษาไทลื้อ ᦊᦱ (หฺยา), ภาษาไทดำ ꪤꪱ (หฺยา), ภาษาไทใหญ่ ယႃ (ยา), ภาษาปู้อี iel, ภาษาจ้วง yw,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง ya
รูปแบบอื่นแก้ไข
- (เลิกใช้) อยา
คำนามแก้ไข
ยา
- สิ่งที่ใช้แก้หรือป้องกันโรค หรือบำรุงร่างกาย เรียกชื่อต่าง ๆ กัน คือ เรียกตามลักษณะก็มี เรียกตามสีก็มี เรียกตามรสหรือกลิ่นก็มี เรียกตามวิธีทำก็มี เรียกตามกิริยาที่ใช้ก็มี
- ยาผง
- ยาเม็ด
- ยาน้ำ
- ยาแดง
- ยาเขียว
- ยาเหลือง
- ยาดำ
- ยาขม
- ยาหอม
- ยาต้ม
- ยากลั่น
- ยาดอง
- ยากวาด
- ยากิน
- ยาฉีด
- ยาดม
- ยาอม
- (ล้าสมัย) ฝิ่น
- โรงยา
- (ภาษาปาก) ยาเสพติด
- สารเคมีสำหรับเคลือบเงินทองให้มีสีต่าง ๆ
- (กฎหมาย) วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ
- (กฎหมาย) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
- (กฎหมาย) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป หรือวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือการกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์
คำกริยาแก้ไข
ยา (คำอาการนาม การยา)
รากศัพท์ 2แก้ไข
คำอนุภาคแก้ไข
ยา