ภาษาไทย แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰŋɯəkᴰ¹ᴸ, จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰŋɯəkᴰ, จากภาษาจีนเก่า (OC *ŋaːɡ, “ขากรรไกร”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨦᩮᩬᩥᨠ (หเงอิก), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨦᩮᩥᨠ (หเงิก), ภาษาลาว ເຫງືອກ (เหงือก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦄᦲᧅ (เหฺงีก), ภาษาไทใหญ่ ႁိူၵ်ႇ (เหิ่ก), ภาษาอาหม 𑜀𑜢𑜤𑜀𑜫 (กึก์), ภาษาจ้วง hwek (เหือก), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hwk (เหิก)

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์เหฺงือก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงngʉ̀ʉak
ราชบัณฑิตยสภาngueak
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ŋɯa̯k̚˨˩/(สัมผัส)

คำนาม แก้ไข

เหงือก

  1. เนื้อที่หุ้มโคนฟัน
  2. อวัยวะของสัตว์ที่ใช้หายใจในน้ำ

คำแปลภาษาอื่น แก้ไข