ดูเพิ่ม: คา, คำ, ค่า, ค้า, ค้ำ, และ ค๊า

ภาษาไทย แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɣamᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาปักษ์ใต้ ขำ, ภาษาอีสาน ค่ำ, ภาษาลาว ຄ່ຳ (ค่ำ), ภาษาคำเมือง ᨤᩴ᩵ᩣ (ฅํ่า), ภาษาไทลื้อ ᦆᧄᧈ (ฅั่ม), ภาษาไทดำ ꪁꪾ꪿ (ก่̱ำ), ภาษาไทขาว ꪅꪝꪾꫀ, ภาษาไทใหญ่ ၶမ်ႈ (ขั้ม), ภาษาอาหม 𑜁𑜪 (ขํ), ภาษาจ้วง haemh, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง kaemh ,ภาษาแสก กฺั้ม

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ค่ำ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkâm
ราชบัณฑิตยสภาkham
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰam˥˩/(สัมผัส)

คำนาม แก้ไข

ค่ำ

  1. เรียกวันตามจันทรคติ
    ขึ้นค่ำหนึ่ง
    ขึ้น 2 ค่ำ
  2. เวลามืดตอนต้นของกลางคืน

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ค่ำ

  1. ที่อยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่เย็นจนถึงเวลามืดตอนต้นของกลางคืน
    รอบค่ำ

คำกริยา แก้ไข

ค่ำ

  1. สิ้นแสงเมื่อดวงอาทิตย์ตกดินแล้ว
    จวนจะค่ำแล้ว

คำประสม แก้ไข

ภาษาคำเมือง แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ค่ำ (คำอาการนาม กำค่ำ หรือ ความค่ำ)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨣᩕ᩵ᩣᩴ (คร่าํ)
  2. อีกรูปหนึ่งของ ᨤ᩵ᩣᩴ (ฅ่าํ)

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ค่ำ (คำอาการนาม ก๋ารค่ำ หรือ ก๋านค่ำ)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨣᩕ᩵ᩣᩴ (คร่าํ)
  2. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨤ᩵ᩣᩴ (ฅ่าํ)