八
|
|
|
ข้ามภาษาแก้ไข
ลำดับขีด | |||
---|---|---|---|
อักษรจีนแก้ไข
八 (รากอักษรจีนที่ 12, 八+0, 2 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 竹人 (HO), การป้อนสี่มุม 80000, การประกอบ ⿰丿乀(GHT) หรือ ⿰丿乁(JKV))
ลำดับขีด | |||
---|---|---|---|
หมายเหตุการใช้แก้ไข
ขีดขนาดเล็กที่มีรูปร่างอย่าง ハ/八 ดังที่ปรากฏที่ด้านบนสุดของ 劵 สามารถอ้างอิงโดยใช้ 八 ได้ ซึ่งบ่อยมากที่ถูกทำให้เป็นรูปอย่างง่าย 丷. Contrast 劵/券 และรูปแบบที่ต่างกันของ 鬲/鬲
อักษรแผลงแก้ไข
อักษรสืบทอดแก้ไข
- ญี่ปุ่น: ハ (ha)
อ้างอิงแก้ไข
- พจนานุกรมคังซี: หน้า 126 อักขระตัวที่ 26
- พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 1450
- พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 274 อักขระตัวที่ 13
- พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 1 หน้า 241 อักขระตัวที่ 3
- ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+516B
ภาษาจีนแก้ไข
Glyph originแก้ไข
รูปในอดีตของตัวอักษร 八 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ร. ชาง | ร. โจวตะวันตก | ยุควสันตสารท | ยุครณรัฐ | ซัวเหวินเจี่ยจื้อ (แต่งใน ร. ฮั่น) | ลิ่วซูถ่ง (แต่งใน ร. หมิง) | ลี่เปี้ยน (แต่งใน ร. ชิง) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รอยจารึกสัมฤทธิ์ | อักษรกระดูกเสี่ยงทาย | รอยจารึกสัมฤทธิ์ | รอยจารึกสัมฤทธิ์ | รอยจารึกสัมฤทธิ์ | อักษรไหมและซีกไม้รัฐฉู่ | อักษรซีกไม้ฉิน | อักษรประทับเล็ก | อักษรโบราณคัดลอก | Clerical script | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
References:
Mostly from Richard Sears' Chinese Etymology site (authorisation),
|
แม่แบบ:liushu: 八 มีเส้นโค้งห่างออกจากกันสองเส้นแสดงถึงความหมายดั้งเดิมของอักษรคือ "แบ่งแยก" แต่ต่อมาถูกยืมนำไปใช้กับความหมาย "แปด" เนื่องจากพ้องเสียงกัน และทำให้ความหมายดั้งเดิมนั้นล้าสมัยไป (ปัจจุบันใช้คำว่า 別 แทน)
รากศัพท์ 1แก้ไข
ตัวเต็ม | 八 | |
---|---|---|
ตัวย่อ # | 八 | |
รูปแบบอื่น | 捌 การเงิน |
จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *b-r-gjat (“eight”) เทียบภาษาทิเบต བརྒྱད (พรฺคฺยท)
การออกเสียงแก้ไข
เลขแก้ไข
八
คำนำหน้านามแก้ไข
八
คำนามแก้ไข
八
ส่วนนี้ของบทความยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพจนานุกรมได้โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนนี้ |
คำประสมแก้ไข
คำสืบทอดแก้ไข
ภาษาอื่น:
- ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:etymology/templates/descendant บรรทัดที่ 150: You specified a term in 4= and not one in 3=. You probably meant to use t= to specify a gloss instead. If you intended to specify two terms, put the second term in 3=.
รากศัพท์ 2แก้ไข
ตัวเต็ม | 八 | |
---|---|---|
ตัวย่อ # | 八 |
จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *brat (“ตัดออกจากกัน, ตัดให้เปิด”) รากเดียวกับ 別/别 (bié)
การออกเสียงแก้ไข
คำกริยาแก้ไข
八
รากศัพท์ 3แก้ไข
สำหรับการออกเสียงและความหมายของ 八 ▶ ให้ดูที่ 捌 (อักขระนี้ 八 คือรูป แบบอื่น ของ 捌) |
ภาษาญี่ปุ่นแก้ไข
< 7 | 8 | 9 > |
---|---|---|
เชิงการนับ : 八 | ||
คันจิแก้ไข
การอ่านแก้ไข
- โกะอง: はち (hachi, Jōyō)
- คังอง: はつ (hatsu)
- คุง: や (ya, 八, Jōyō); やつ (yatsu, 八つ, Jōyō); やっつ (yattsu, 八つ, Jōyō); よう (yō, 八, Jōyō, uncommon)
- นะโนะริ: な (na); は (ha); やち (yachi)
คำประสมแก้ไข
- 一八 (ichihatsu)
- 七転八起 (shichiten hakki)
- 七転八倒 (shichiten-battō)
- 八丈 (hachijō)
- 八丈島 (hachijōjima)
- 八字髭 (hachijihige)
- 八幡 (hachiman)
- 八月 (hachigatsu, “สิงหาคม”)
- 八辺形 (hachihengei, “แปดเหลี่ยม”)
- 八道 (hachidō)
- 八面 (hachimen)
- 八丁 (hasshō)
- 八九分 (hakkubu)
- 八分 (happun)
- 八卦 (hakke)
- 八宝菜 (happōsai)
- 八州 (hasshō)
- 八掛 (hakkake)
- 八方 (happō)
- 八朔 (hassaku)
- 八紘 (hakkō)
- 八苦 (hakku)
- 八荒 (hakkō)
- 八角形 (hakkakkei, “แปดเหลี่ยม”)
- 八達 (hattatsu)
- 八切 (yatsugiri)
- 八手 (yatsude)
- 八橋 (yatsuhachi)
- 八潮路 (yashioji)
- 八重 (yae)
- 八日 (yōka)
- 四苦八苦 (shiku hakku)
- 尺八 (shakuhachi)
- 永字八法 (Eiji Happō, “the Eight Principles of Yong”)
- 間八 (kanpachi)
รากศัพท์ 1แก้ไข
การออกเสียงแก้ไข
Audio (file)
เลขแก้ไข
八 (ฮะช̱ิ) (ฮิระงะนะ はち, โรมะจิ hachi)
คำนามแก้ไข
八 (ฮะช̱ิ) (ฮิระงะนะ はち, โรมะจิ hachi)
รากศัพท์ 2แก้ไข
รูปแอ็บเลาต์ของ 四 (yo, “สี่”) ที่มีค่าเป็นสองเท่า
คำนามแก้ไข
八 (ยะ) (ฮิระงะนะ や, โรมะจิ ya)