ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ˀbɛːŋᴮ³ (Jonsson, 1991); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน แบ่ง, ภาษาลาว ແບ່ງ (แบ่ง), ภาษาคำเมือง ᨷᩯ᩠᩵ᨦ (แบ่ง), ภาษาเขิน ᨷᩯ᩠᩵ᨦ (แบ่ง), ภาษาไทลื้อ ᦶᦢᧂᧈ (แบ่ง), ภาษาไทใหญ่ မႅင်ႇ (แม่ง) หรือ ဝႅင်ႇ (แว่ง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥦᥒᥱ (แม่ง), ภาษาพ่าเก မိင် (มิง์), ภาษาอาหม 𑜉𑜢𑜂𑜫 (มิง์) หรือ 𑜈𑜢𑜂𑜫 (บิง์); เป็นไปได้ว่าเกี่ยวข้องกับ แพร่ง

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์
{ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น}
แบ็่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงbɛ̀ng
ราชบัณฑิตยสภาbaeng
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/bɛŋ˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

แบ่ง (คำอาการนาม การแบ่ง)

  1. (สกรรม) แยกออกเป็นส่วน
    แบ่งเงิน
    แบ่งของ
    แบ่งงาน

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

แบ่ง (คำอาการนาม ก๋ารแบ่ง หรือ ก๋านแบ่ง)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨷᩯ᩠᩵ᨦ (แบ่ง)