U+5F8C, 後
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-5F8C

[U+5F8B]
CJK Unified Ideographs
[U+5F8D]
🈝 U+1F21D, 🈝
SQUARED CJK UNIFIED IDEOGRAPH-5F8C
🈜
[U+1F21C]
Enclosed Ideographic Supplement 🈞
[U+1F21E]

ภาษาร่วม แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รูปแบบการแสดงผลของอักขระนี้แตกต่างกันในแต่ละที่:

จีน ญี่ปุ่น

อักษรจีน แก้ไข

(รากคังซีที่ 60, +6, 9 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 竹人女戈水 (HOVIE), การป้อนสี่มุม 22247, การประกอบ )

อ้างอิง แก้ไข

  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 366 อักขระตัวที่ 18
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 10098
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 688 อักขระตัวที่ 1
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 2 หน้า 822 อักขระตัวที่ 3
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+5F8C

ภาษาจีน แก้ไข

ตัวเต็ม
ตัวย่อ *

การออกเสียง แก้ไข


หมายเหตุ: heu3 - only in 後生.
หมายเหตุ:
  • Sixian:
    • hêu - vernacular;
    • heu - literary.
  • Meixian:
    • hêu1 - vernacular;
    • hêu4 - literary.
  • จิ้น
  • หมิ่นเหนือ
  • หมิ่นตะวันออก
  • หมายเหตุ:
    • âu - vernacular;
    • hâu - vernacular (only in 後生);
    • hâiu - literary.
  • หมิ่นใต้
  • หมายเหตุ:
    • āu/ǎu - vernacular;
    • hāu/hǎu - vernacular (only in 後生, 後的);
    • hō͘/hiǒ/hiō - literary.
    หมายเหตุ:
    • ao6 - vernacular;
    • hao6 - literary.
  • อู๋
  • เซียง
  • หมายเหตุ:
    • hou6 - vernacular;
    • hou5 - literary.

    สัมผัส
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/2 2/2
    ต้นพยางค์ () (33) (33)
    ท้ายพยางค์ () (137) (137)
    วรรณยุกต์ (調) Rising (X) Departing (H)
    พยางค์เปิด/ปิด (開合) Open Open
    ส่วน () I I
    ฝ่านเชี่ย
    แบกซเตอร์ huwX huwH
    การสืบสร้าง
    เจิ้งจาง ซ่างฟาง /ɦəuX/ /ɦəuH/
    พาน อู้ยฺหวิน /ɦəuX/ /ɦəuH/
    ซ่าว หรงเฟิน /ɣəuX/ /ɣəuH/
    เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /ɦəwX/ /ɦəwH/
    หลี่ หรง /ɣuX/ /ɣuH/
    หวาง ลี่ /ɣəuX/ /ɣəuH/
    เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /ɣə̯uX/ /ɣə̯uH/
    แปลงเป็นจีนกลาง
    ที่คาดหมาย
    hòu hòu
    แปลงเป็นกวางตุ้ง
    ที่คาดหมาย
    hau6 hau6
    ระบบแบกซ์เตอร์ซาการ์ 1.1 (2014)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/2 2/2
    ปักกิ่งใหม่
    (พินอิน)
    hòu hòu
    จีนยุคกลาง ‹ huwX › ‹ huwH ›
    จีนเก่า /*[ɢ]ˁ(r)oʔ/ /*[ɢ]ˁ(r)oʔ-s/
    อังกฤษ after put after ?

    Notes for Old Chinese notations in the Baxter–Sagart system:

    * Parentheses "()" indicate uncertain presence;
    * Square brackets "[]" indicate uncertain identity, e.g. *[t] as coda may in fact be *-t or *-p;
    * Angle brackets "<>" indicate infix;
    * Hyphen "-" indicates morpheme boundary;

    * Period "." indicates syllable boundary.
    ระบบเจิ้งจาง (2003)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/2 2/2
    หมายเลข 5178 5179
    ส่วนประกอบ
    สัทศาสตร์
    กลุ่มสัมผัส
    กลุ่มย่อยสัมผัส 0 0
    สัมผัสจีนยุคกลาง
    ที่สอดคล้อง
    𠋫
    จีนเก่า /*ɢoːʔ/ /*ɢoːs/
    หมายเหตุ

    คำนาม แก้ไข

    1. ข้างหลัง; ด้านหลัง
      คำตรงข้าม: (qián)
    2. ภายหลัง; หลังจาก; หลังจากนั้น
    3. ลูกหลาน
    4. ทวารหนัก
    5. นามสกุล

    คำประสม แก้ไข

    คำสืบทอด แก้ไข

    ซีโน-เซนิก ():

    อ้างอิง แก้ไข

    ภาษาญี่ปุ่น แก้ไข

    คันจิ แก้ไข

    (เคียวอิกูกันจิระดับ 2)

    1. ข้างหลัง, หลังจาก

    การอ่าน แก้ไข

    คำประสม แก้ไข

    รากศัพท์ 1 แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    あと
    ระดับ: 2
    คุนโยมิ

    การออกเสียง แก้ไข

    คำนาม แก้ไข

    (あと) (ato

    1. (spatially) ด้านหลัง
    2. (temporally) ภายหลัง, หลังจากนั้น, เวลาหลังปัจจุบัน
    3. ส่วนที่เหลือ

    รากศัพท์ 2 แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    うしろ
    ระดับ: 2
    คุนโยมิ

    การออกเสียง แก้ไข

    รูปแบบอื่น แก้ไข

    คำนาม แก้ไข

    (うしろ) (ushiro

    1. ด้านหลัง

    รากศัพท์ 3 แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    おくれ
    ระดับ: 2
    คุนโยมิ

    การออกเสียง แก้ไข

    รูปแบบอื่น แก้ไข

    คำนาม แก้ไข

    (おくれ) (okure

    1. บางอย่างภายหลัง, หรือข้างหลัง
    2. ปมด้อย
    3. ความไม่แน่นอน, ความกังวลใจ, ความไม่แน่ใจ

    รากศัพท์ 4 แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    しり
    ระดับ: 2
    คุนโยมิ

    การออกเสียง แก้ไข

    รูปแบบอื่น แก้ไข

    • (much more common)

    คำนาม แก้ไข

    (しり) (shiri

    1. การสะกดแบบอื่นของ : ด้านหลัง, หาง, ตะโพก, ก้น, หลัง

    รากศัพท์ 5 แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    しりえ
    ระดับ: 2
    คุนโยมิ

    การออกเสียง แก้ไข

    รูปแบบอื่น แก้ไข

    คำนาม แก้ไข

    (しりえ) (shirie

    1. ด้านหลัง
    2. ทิศทางถอยหลัง
    3. ส่วนของพระราชวังที่ราชินีหรือมเหสีจักรพรรดิอาศัยอยู่

    รากศัพท์ 6 แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    のち
    ระดับ: 2
    คุนโยมิ

    การออกเสียง แก้ไข


    คำนาม แก้ไข

    (のち) (nochi

    1. ภายหลัง, หลังจากนั้น, เวลาหลังปัจจุบัน

    รากศัพท์ 7 แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    ゆり
    ระดับ: 2
    คุนโยมิ

    การออกเสียง แก้ไข

    คำนาม แก้ไข

    (ゆり) (yuri

    1. (เลิกใช้) ภายหลัง, หลังจากนั้น, เวลาหลังปัจจุบัน

    รากศัพท์ 8 แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้

    ระดับ: 2
    อนโยมิ

    การออกเสียง แก้ไข

    คำนาม แก้ไข

    () (go

    1. ภายหลัง, หลังจากนั้น, เวลาหลังปัจจุบัน

    Suffix แก้ไข

    () (-go

    1. หลังจาก

    รากศัพท์ 9 แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    こう
    ระดับ: 2
    คังอง

    การออกเสียง แก้ไข

    อุปสรรค แก้ไข

    (こう) (kō-

    1. หลังจาก

    อ้างอิง แก้ไข

    1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 2006, 大辞林 (Daijirin), Third Edition (in Japanese), Tōkyō: Sanseidō, →ISBN
    2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2540 (1997), 新明解国語辞典 (พจนานุกรมภาษาญี่ปุ่นเข้าใจง่ายฉบับใหม่), ปรับปรุงครั้งที่ 5 (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: ซันเซอิโด, →ISBN