ดูเพิ่ม: ใจ่, ใจ๊, และ ใจ๋

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *caɰᴬ², จากภาษาไทดั้งเดิม *cɤɰᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໃຈ (ใจ), ภาษาอีสาน ใจ, ภาษาคำเมือง ᨧᩲ (ใจ) หรือ ᨧᩱ (ไจ), ภาษาเขิน ᨧᩱ (ไจ), ภาษาไทลื้อ ᦺᦈ (ไจ), ภาษาไทดำ ꪻꪊ (ใจ), ภาษาไทขาว ꪻꪊ, ภาษาไทใหญ่ ၸႂ် (ใจ), ภาษาไทใต้คง ᥓᥬ (ใจ), ภาษาพ่าเก ꩡၞ် (ใจ), ภาษาอาหม 𑜋𑜨𑜧 (ฉอ̂ว์); เทียบภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม *qaCay

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ไจ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงjai
ราชบัณฑิตยสภาchai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕaj˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงไจ

คำนาม

แก้ไข

ใจ

  1. สิ่งที่ทำหน้าที่รู้ รู้สึก นึก และคิด (คำลักษณนาม ดวง)
    ใจก็คิดว่าอย่างนั้น
  2. หัวใจ (คำลักษณนาม ดวง)
    ใจเต้น
  3. ลมหายใจ
    กลั้นใจ
    อึดใจ
    หายใจ
  4. ความรู้สึกนึกคิด
    ใจคด
    ใจซื่อ
  5. จุดสำคัญของบางสิ่งบางอย่าง
    ใจมือ
  6. บริเวณที่ถือว่าเป็นจุดสำคัญของสถานที่
    ใจบ้านใจเมือง

คำประสม

แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ใจ

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨧᩲ (ใจ)