ภาษาไทยแก้ไข

การออกเสียงแก้ไข

การแบ่งพยางค์ดั้ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdâng
ราชบัณฑิตยสภาdang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/daŋ˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1แก้ไข

คำนามแก้ไข

ดั้ง

  1. เครื่องถือสำหรับปิดป้องศัสตราวุธ รูปคล้ายกาบกล้วย, โบราณใช้ว่า ด้าง ก็มี
  2. เรียกเสาเรือนเครื่องสับที่ตั้งอยู่บนหลังรอดตรงกึ่งกลางความยาวของตัวรอดขึ้นไปรับอกไก่ ว่า เสาดั้ง
  3. เรียกเสาที่ตั้งบนขื่อสำหรับรับอกไก่ ว่า ดั้งแขวน
  4. เรียกเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค จัดเป็น 2 สายขนาบเรือกลอง ไปข้างหน้าเรือไชยและเรือพระที่นั่งลำทรง อาจมีกี่คู่ก็ได้ ว่า เรือดั้ง

คำกริยาแก้ไข

ดั้ง (คำอาการนาม การดั้ง)

  1. (โบราณ) ป้องกัน

รากศัพท์ 2แก้ไข

แผลงมาจาก ดัง, จากภาษาไทดั้งเดิม *ɗaŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ດັງ (ดัง), ภาษาไทลื้อ ᦡᧂ (ดัง), ภาษาไทใหญ่ လင်/ၼင် (ลัง/นัง) (ในคำ ၶူႈလင်/ၶူႈၼင် (ขู้ลัง/ขู้นัง)), ภาษาไทใต้คง ᥘᥒ (ลัง), ภาษาอ่ายตน ဒင် (ดง์) หรือ ꩫင် (นง์), ภาษาอาหม 𑜓𑜂𑜫 (ดง์) หรือ 𑜃𑜂𑜫 (นง์), ภาษาปู้อี ndangl, ภาษาจ้วง ndaeng

คำนามแก้ไข

ดั้ง

  1. (ร้อยกรอง) จมูก
  2. สันจมูก, มักพูดว่า ดั้งจมูก

รากศัพท์ 3แก้ไข

ยืมโดยเรียนรู้จากภาษาญี่ปุ่น (ดัง)

คำนามแก้ไข

ดั้ง

  1. ระดับขั้น (ในกีฬาญี่ปุ่น)