ꩫင်
ภาษาคำตี้ แก้ไข
คำนาม แก้ไข
ꩫ︀င︀် (ต้องการถอดอักษร)
ภาษาอ่ายตน แก้ไข
รากศัพท์ 1 แก้ไข
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰnaŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หนัง, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨶᩢᨦ (หนัง), ภาษาลาว ໜັງ (หนัง), ภาษาไทลื้อ ᦐᧂ (หฺนัง), ภาษาไทดำ ꪘꪰꪉ (หฺนัง), ภาษาไทใหญ่ ၼင် (นัง), ภาษาจ้วง naeng
การออกเสียง แก้ไข
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /naŋ¹/
คำนาม แก้ไข
ꩫ︀င︀် (นง์)
รากศัพท์ 2 แก้ไข
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *naŋᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย นั่ง, ภาษาคำเมือง ᨶᩢ᩠᩵ᨦ (นั่ง), ภาษาลาว ນັ່ງ (นั่ง), ภาษาไทลื้อ ᦓᧂᧈ (นั่ง), ภาษาไทดำ ꪙꪰ꪿ꪉ (นั่ง), ภาษาไทใหญ่ ၼင်ႈ (นั้ง), ภาษาอาหม 𑜃𑜂𑜫 (นง์), ภาษาจ้วง naengh, ภาษาแสก หนั้ง
การออกเสียง แก้ไข
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /naŋ²/
คำกริยา แก้ไข
ꩫ︀င︀် (นง์)
รากศัพท์ 3 แก้ไข
สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *naːŋᴬ⁴, จากภาษาไทดั้งเดิม *naːŋᴬ, จากภาษาจีนเก่า 娘 (OC *naŋ, “หญิงสาว”)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย นาง, ภาษาคำเมือง ᨶᩣ᩠ᨦ (นาง), ภาษาลาว ນາງ (นาง), ภาษาไทลื้อ ᦓᦱᧂ (นาง), ภาษาไทดำ ꪙꪱꪉ (นาง), ภาษาไทใหญ่ ၼၢင်း (น๊าง), ภาษาไทใต้คง ᥢᥣᥒᥰ (น๊าง), ภาษาอาหม 𑜃𑜂𑜫 (นง์)
การออกเสียง แก้ไข
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /naːŋ¹/
คำนาม แก้ไข
ꩫ︀င︀် (นง์)
อ้างอิง แก้ไข
- ↑ Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.