ดูเพิ่ม: เรื้อน

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *rɯənᴬ⁴, จากภาษาไทดั้งเดิม *rɤːnᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩁᩮᩬᩥᩁ (เรอิร), ภาษาอีสาน เฮือน, ภาษาลาว ເຮືອນ (เฮือน), ภาษาไทลื้อ ᦵᦣᦲᧃ (เฮีน), ภาษาไทดำ ꪹꪭꪙ (เฮน), ภาษาไทใหญ่ ႁိူၼ်း (เหิ๊น), ภาษาไทใต้คง ᥞᥫᥢᥰ (เห๊อ̂น), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜤𑜃𑜫 (รึน์), ภาษาปักษ์ใต้ เริน, ภาษาปู้อี raanz, ภาษาจ้วง ranz, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง rwenz; เทียบภาษาจีนเก่า (OC *dan),[1] ภาษาสุ่ย xgaanz, ภาษาต้งใต้ yanc, ภาษาเบดั้งเดิม *zaːnᴬ² (ซึ่งเป็นรากของ Longtang Be zan²)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เรือน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงrʉʉan
ราชบัณฑิตยสภาruean
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/rɯa̯n˧/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

เรือน

  1. สิ่งปลูกสร้างที่ยกพื้นและกั้นฝา มีหลังคาคลุม สำหรับเป็นที่อยู่, ที่อยู่ (คำลักษณนาม เรือน หรือ หลัง)
  2. ทรวดทรง
    เรือนผม
  3. ที่รับเพชรพลอย
    เรือนแหวน
  4. จำนวน
    เงินเรือนหมื่น
    ราคาเรือนแสน

คำเกี่ยวข้อง

แก้ไข

คำวิสามานยนาม

แก้ไข

เรือน

  1. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อาศเลษา มี 5 ดวง ดาวนกอยู่ในปล่อง หรือ ดาวอสิเลสะ ก็เรียก

คำลักษณนาม

แก้ไข

เรือน

  1. ใช้เรียกนาฬิกา
    นาฬิกาเรือนหนึ่ง
    นาฬิกา 2 เรือน

อ้างอิง

แก้ไข
  1. Schuessler, A. (2007). ABC etymological dictionary of Old Chinese. University of Hawaii Press.

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

เรือน

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩁᩮᩬᩥᩁ (เรอิร)