ดูเพิ่ม: หัก และ หูก

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์หก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhòk
ราชบัณฑิตยสภาhok
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/hok̚˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข
จำนวนภาษาไทย (แก้ไข)
60
 ←  5
6
7  → 
    เชิงการนับ: หก
    เชิงอันดับที่: ที่หก
    ตัวคูณ: หกเท่า
    เชิงรวบรวม: ครึ่งโหล
 
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia
 
มะเขือเทศหกผล

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *xrokᴰ¹ˢ, จากไทดั้งเดิม *krokᴰ, จากจีนเก่า (OC *ruɡ); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩉᩫ᩠ᨠ (ห็ก), ลาว ຫົກ (ห็ก), ไทลื้อ ᦷᦠᧅ (โหก), ไทดำ ꪶꪬꪀ (โหก), ไทใหญ่ ႁူၵ်း (หู๊ก), ไทใต้คง ᥞᥨᥐᥱ (โห่ก), อาหม 𑜍𑜤𑜀𑜫 (รุก์), ปู้อี rogt, จ้วง roek หรือ loeg, จ้วงแบบหนง choak

หก

  1. จำนวนห้าบวกหนึ่ง, จำนวนจุดที่มีในนี้ (••••• •)
คำพ้องความ
แก้ไข
ดูที่ อรรถาภิธาน:หก

คำนาม

แก้ไข

หก

  1. ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน 6 ตกในราวเดือนพฤษภาคม
ลูกคำ
แก้ไข
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับลาว ຫົກ (ห็ก)

คำกริยา

แก้ไข

หก (คำอาการนาม การหก)

  1. อาการที่ส่วนเบื้องสูงของร่างกาย ของภาชนะ หรือของสิ่งใดสิ่งหนึ่งเอียงลง เทลง ในทันใดจากที่เดิม
    หกต่ำหกสูง
    น้ำหก
    ข้าวหก
  2. โดยปริยายเรียกอาการเช่นนั้น
    กระดานหก
ลูกคำ
แก้ไข

รากศัพท์ 3

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

หก

  1. ชื่อนกปากขอขนาดเล็ก ในวงศ์ Psittacidae ปากหนา หัวโต ตัวสีเขียว หางสั้น อยู่รวมกันเป็นฝูง ทำรังตามโพรงไม้ มักเกาะห้อยหัวลง กินผลไม้และเมล็ดพืช ในประเทศไทยมี 3 ชนิด คือ หกใหญ่ [Psittinus cyanurus (Forster)] หกเล็กปากแดง [Loriculus vernalis (Sparrman)] และหกเล็กปากดำ [L. galgulus (Linn.)]
  2. นกต่าง ๆ ทั่วไป
    อันเป็นต้นว่า คนอีกแพะแลหมูหมาเป็ดไก่ทั้งห่านนกหกปลาเนื้อฝูงสัตว์ทั้งหลาย
    (จารึกวัดศรีชุม)