ดูเพิ่ม: , ช., ชิ, ชี้, ชุ, ชู, และ ชู้

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ชี
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchii
ราชบัณฑิตยสภาchi
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰiː˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

จากภาษาเขมร ជី (ชี), จากภาษาสันสกฤต जी (ชี). เทียบภาษาลาว ຊີ (ซี), ภาษาเขมร ជី (ชี)

คำนาม

แก้ไข

ชี (คำลักษณนาม รูป)

  1. นักบวช
  2. (ศาสนาพุทธ) (แม่~, ยาย~, นาง~) คำเรียกหญิงที่นุ่งขาวห่มขาว โกนคิ้วโกนผม ถือศีล 8
  3. (ศาสนาคริสต์) (แม่~, นาง~) นักบวชหญิงในศาสนาคริสต์

รากศัพท์ 2

แก้ไข

เทียบภาษาลาว ຊີ (ซี), ภาษาไทใหญ่ ၵီး (กี๊)

คำนาม

แก้ไข

ชี

  1. (ผัก~) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Coriandrum sativum L. ในวงศ์ Umbelliferae ทั้งต้นมีกลิ่น ใช้เป็นผัก เรียกว่า ผักชี ดอกเล็กสีขาว ผลกลมมีกลิ่นฉุน เมื่อแก่ใช้เป็นเครื่องเทศ
คำพ้องความ
แก้ไข
คำสืบทอด
แก้ไข
  • จาก "ผักชี":
    • ญี่ปุ่น: パクチー

รากศัพท์ 3

แก้ไข

ตัดมาจาก ชีปะขาว

คำนาม

แก้ไข

ชี

  1. ชีปะขาว (แมลง)

รากศัพท์ 4

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ชี

  1. ทำสิ่งที่เป็นปุยอย่างสำลีหรือที่เป็นเส้นอย่างกลุ่มยาเส้นให้กระจายตัวออก
คำพ้องความ
แก้ไข

รากศัพท์ 5

แก้ไข
 
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

ยืมมาจากภาษาอีสาน ซี (เจาะ; ทะลุ) เนื่องจากแม่น้ำนี้ไหลทะลุเทือกเขาหินปูนบริเวณต้นกำเนิดแม่น้ำ

คำวิสามานยนาม

แก้ไข

ชี

  1. ชื่อแม่น้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

รากศัพท์ 6

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ she

คำสรรพนาม

แก้ไข

ชี

  1. (ภาษาปาก, สแลง, ขำขัน) เขา, หล่อน (ใช้กับผู้หญิง หรือผู้ชายที่มีท่าทางเป็นหญิง)