ชนวน
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | ชะ-นวน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chá-nuuan |
ราชบัณฑิตยสภา | cha-nuan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰa˦˥.nua̯n˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขยืมมาจากภาษาเขมร ឆ្នួន (ฉฺนัวน, “หินชนวน”)
คำนาม
แก้ไขชนวน
- ชื่อหินชนิดหนึ่งเป็นแผ่นบาง ๆ ซ้อนติดกัน เนื้อแน่นและละเอียด มีสีต่าง ๆ กัน ตั้งแต่สีเทาไปจนถึงสีเทาแก่ สีดำ สีน้ำเงิน ที่มีสีแดง สีเขียว สีม่วง ก็มี
- เรียกแผ่นหินชนวนหน้าเรียบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้ากรอบไม้ ใช้เขียนด้วยดินสอหินซึ่งทำด้วยหินชนวนตัดและฝนเป็นแท่ง สำหรับฝึกเขียนหนังสือในสมัยก่อน ว่า กระดานชนวน
รากศัพท์ 2
แก้ไขยืมมาจากภาษาเขมร ឆ្នួន (ฉฺนัวน, “ดินชนวน, สายชนวน”)
คำนาม
แก้ไขชนวน
- ดินหูที่ใช้จุดให้ไฟลุกแล่นเข้าไปติดดินดำ, ถ้ามีกระดาษห่อดินปืนม้วนเป็นเส้น เรียกว่า สายชนวน
- เรียกเทียนที่จุดไว้เพื่อใช้จุดต่อ ว่า เทียนชนวน
- โดยปริยายหมายความว่า ต้นเหตุให้เกิดเรื่องอื่นขึ้นต่อไป
- ชนวนสงคราม
รากศัพท์ 3
แก้ไขคำนาม
แก้ไขชนวน