หิน
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | หิน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hǐn |
ราชบัณฑิตยสภา | hin | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /hin˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *triːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩥ᩠ᨶ (หิน), ภาษาลาว ຫີນ (หีน), ภาษาไทลื้อ ᦠᦲᧃ (หีน), ภาษาไทดำ ꪬꪲꪙ (หิน), ภาษาไทใหญ่ ႁိၼ် (หิน), ภาษาไทใต้คง ᥞᥤᥢᥴ (หี๋น), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜃𑜫 (ริน์), ภาษาจ้วง rin, ภาษาแสก หรี่น, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hin
คำนาม
แก้ไขหิน (คำลักษณนาม ก้อน)
ลูกคำ
แก้ไขคำแปลภาษาอื่น
แก้ไขของแข็งที่ประกอบด้วยแร่
คำคุณศัพท์
แก้ไขหิน (คำอาการนาม ความหิน)
- (ภาษาปาก) ยากมาก
- ข้อสอบหิน
- (ภาษาปาก) เข้มงวดมาก
- ครูคนนี้หิน
- (ภาษาปาก) เหี้ยมมาก, แข็งมาก
- เขาเป็นคนใจหิน
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำกริยา
แก้ไขหิน
คำพ้องความ
แก้ไขรากศัพท์ 3
แก้ไขยืมมาจากภาษาสันสกฤต हीन (หีน) หรือภาษาบาลี หีน
รูปแบบอื่น
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | หิน | [เสียงสมาส] หิน-นะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hǐn | hǐn-ná- |
ราชบัณฑิตยสภา | hin | hin-na- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /hin˩˩˦/(สัมผัส) | /hin˩˩˦.na˦˥./ |
คำคุณศัพท์
แก้ไขหิน
ภาษาคำเมือง
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /hin˨˦/
คำนาม
แก้ไขหิน