ภาษาไทลื้อ แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *triːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หิน, ภาษาคำเมือง ᩉᩥ᩠ᨶ (หิน), ภาษาลาว ຫີນ (หีน), ภาษาไทใหญ่ ႁိၼ် (หิน), ภาษาไทใต้คง ᥞᥤᥢᥴ (หี๋น), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜃𑜫 (ริน์), ภาษาจ้วง rin, ภาษาแสก หรี่น

คำนาม แก้ไข

ᦠᦲᧃ (หีน) (อักษรไทธรรม ᩉᩥ᩠ᨶ, คำลักษณนาม ᦐᦽᧈ หรือ ᦟᦴᧅ)

  1. หิน

รากศัพท์ 2 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰɲelᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เห็น, ภาษาอีสาน เหง็น, ภาษาลาว ເຫງັນ (เหงัน) หรือ ເຫັນ (เหัน), ภาษาเขิน ᩉᩮ᩠ᨶ (เหน), ภาษาไทดำ ꪹꪐꪸꪙ (เหฺญย̂น), ภาษาไทใหญ่ ႁဵၼ် (เหน), ภาษาไทใต้คง ᥞᥥᥢᥴ (เห๋น), ภาษาอาหม 𑜑𑜢𑜃𑜫 (หิน์)

คำนาม แก้ไข

ᦠᦲᧃ (หีน) (อักษรไทธรรม ᩉᩥ᩠ᨶ, คำลักษณนาม ᦷᦎ)

  1. เห็น (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม)