หนุ
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขยืมมาจากสันสกฤต हनु (หนุ, “คาง; ขากรรไกร”) หรือบาลี หนุ (“คาง; ขากรรไกร”)
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | หะ-นุ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hà-nú |
ราชบัณฑิตยสภา | ha-nu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ha˨˩.nuʔ˦˥/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขหนุ
ภาษาบาลี
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไขเขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
แก้ไขหนุ ญ.
การผันรูป
แก้ไขตารางการผันรูปของ "หนุ" (เพศหญิง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | หนุ | หนุโย หรือ หนู |
กรรมการก (ทุติยา) | หนุํ | หนุโย หรือ หนู |
กรณการก (ตติยา) | หนุยา | หนูหิ หรือ หนูภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | หนุยา | หนูนํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | หนุยา | หนูหิ หรือ หนูภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | หนุยา | หนูนํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | หนุยา หรือ หนุยํ | หนูสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | หนุ | หนุโย หรือ หนู |