ดูเพิ่ม: มัด, มัด่, มีด, มืด, และ มุด

ภาษาไทย

แก้ไข
 
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์มด
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmót
ราชบัณฑิตยสภาmot
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mot̚˦˥/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *motᴰˢ⁴, จากภาษาไทดั้งเดิม *mɤcᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨾᩫ᩠ᨯ (ม็ด), ภาษาเขิน ᨾᩫ᩠ᨯ (ม็ด), ภาษาลาว ມົດ (ม็ด), ภาษาไทลื้อ ᦷᦙᧆ (โมด), ภาษาไทดำ ꪶꪣꪒ (โมด), ภาษาไทใหญ่ မူတ်ႉ (มู๎ต), ภาษาพ่าเก မုတ် (มุต์), ภาษาอาหม 𑜉𑜤𑜄𑜫 (มุต์), ภาษาปู้อี mod, ภาษาจ้วง moed; เทียบภาษาเบดั้งเดิม *muːʔᴰ², ภาษาไหลดั้งเดิม *hmuc

คำนาม

แก้ไข

มด (คำลักษณนาม ตัว)

  1. ชื่อแมลงหลายชนิดในวงศ์ Formicidae ส่วนท้องปล้องที่ 1 หรือปล้องที่ 1 และปล้องที่ 2 ที่ติดกับอกคอดกิ่ว ด้านหลังส่วนที่คอดมีโหนกนูน ลักษณะนี้ทำให้มดแตกต่างไปจากต่อ แตน และปลวก มีรูปร่าง ลักษณะ สี และกลิ่นแตกต่างกันตามชนิด เดินกันเป็นทางเพื่อขนอาหาร หรือย้ายรัง เป็นแมลงสังคม ทำรังอยู่เป็นกลุ่ม แบ่งชั้นวรรณะเป็นมดนางพญา มดผู้ และมดงาน มดงานเป็นมดเพศเมียที่เป็นหมันทำหน้าที่สร้างรัง เลี้ยงดูตัวอ่อน และหาอาหาร บางชนิดเมื่อถูกรบกวนจะป้องกันตัวโดยใช้อวัยวะต่อยปล่อยกรดหรือกัดให้เกิดแผลและปล่อยกรดออกมาทำให้เกิดอาการระคายเคืองหรือทำให้เจ็บปวดได้
คำประสม
แก้ไข
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

จากภาษาจีนเก่า (OC *ma)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ມົດ (ม็ด), ภาษาไทลื้อ ᦷᦙᧆ (โมด), ภาษาจ้วง moed,[2]; เทียบเพิ่มเติมภาษาเขมร មត់ (มต̍, to have a secret understanding)

คำนาม

แก้ไข

มด

  1. หมอเวทมนตร์, หมอผี
คำประสม
แก้ไข

อ้างอิง

แก้ไข
  1. Cheah Yanchong. "More Thoughts on the Ancient Culture of the Tai People:The Impact of the Hua Xia Culture", in Journal ofThe Siam Society Vol. 84, Part 1 (1996). Retrieved from [1]
  2. Kao Ya-Ning (2011). "Crossing the Seas: Tai Shamanic Chanting and its Cosmology", in SHAMAN, Volume 19 Numbers 1 & 2 (Spring /Autumn 2011). Retrieved from [2]

ภาษาอูรักลาโวยจ

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษามาลาโย-พอลินีเชียนดั้งเดิม *ambun; ร่วมเชื้อสายกับภาษามาเลเซีย embun

คำนาม

แก้ไข

มด

  1. น้ำค้าง