ภาษาไทย

แก้ไข
 
ตีนของคน
 
ปลาตีน

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ตีน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtiin
ราชบัณฑิตยสภาtin
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tiːn˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *tiːnᴬ², จากไทดั้งเดิม *tiːnᴬ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨲᩦ᩠ᨶ (ตีน), ยอง ᨲᩦ᩠ᨶ, ลาว ຕີນ (ตีน), ญ้อ ตีน, ไทลื้อ ᦎᦲᧃ (ตีน), ไทใหญ่ တိၼ် (ติน), ไทดำ ꪔꪲꪙ (ติน), ไทขาว ꪔꪲꪙ, อาหม 𑜄𑜢𑜃𑜫 (ติน์), ปู้อี dinl, จ้วง din

รูปแบบอื่น

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ตีน

  1. (หยาบคาย, หากใช้กับคน) อวัยวะส่วนล่างสุดของคนหรือสัตว์ นับตั้งแต่ใต้ข้อเท้าลงไป สำหรับยืนหรือเดินเป็นต้น
    คำพ้องความ: ดูที่ อรรถาภิธาน:เท้า
  2. โดยปริยายหมายถึงสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นหรือส่วนล่างของสิ่งบางอย่าง
    ตีนม่าน
    ตีนมุ้ง
  3. ชาย, เชิง
    ตีนท่า
    ตีนเลน

รากศัพท์ 2

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ตีน (คำลักษณนาม ตัว)

  1. ชื่อปลาน้ำกร่อยในวงศ์ Periophthalmidae ที่ใช้ครีบอกต่างตีน ตาโปนมองเห็นเหนือน้ำได้ดี เช่น ชนิด Periophthalmus barbarus, Boleophthalmus boddarti

ภาษาญ้อ

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากไทดั้งเดิม *tiːnᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย ตีน, คำเมือง ᨲᩦ᩠ᨶ (ตีน), ยอง ᨲᩦ᩠ᨶ, ลาว ຕີນ (ตีน), ไทลื้อ ᦎᦲᧃ (ตีน), ไทใหญ่ တိၼ် (ติน), ไทดำ ꪔꪲꪙ (ติน), ไทขาว ꪔꪲꪙ, อาหม 𑜄𑜢𑜃𑜫 (ติน์), ปู้อี dinl, จ้วง din

คำนาม

แก้ไข

ตีน

  1. ตีน