ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *k.tɯːnᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ตื่น, ภาษาลาว ຕື່ນ (ตื่น), ภาษาคำเมือง ᨲᩨ᩠᩵ᨶ (ตื่น), ภาษาเขิน ᨲᩨ᩠᩵ᨶ (ตื่น), ภาษาไทลื้อ ᦎᦹᧃᧈ (ตื่น), ภาษาไทดำ ꪔꪳ꪿ꪙ (ตึ่น), ภาษาไทขาว ꪔꪳꪙꫀ, ภาษาไทใหญ่ တိုၼ်ႇ (ตึ่น), ภาษาอาหม 𑜄𑜢𑜤𑜃𑜫 (ตึน์), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง dwnq, ภาษาจ้วง dinq

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ตื่น
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtʉ̀ʉn
ราชบัณฑิตยสภาtuen
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tɯːn˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

ตื่น (คำอาการนาม การตื่น)

  1. ฟื้นจากหลับ
    ตื่นนอน
  2. ไม่หลับ
    ตื่นอยู่
  3. แสดงอาการผิดปรกติเพราะตกใจ ดีใจ หรือแปลกใจ เป็นต้น
    วัวตื่น
    ควายตื่น
    ตื่นเวที
    ตื่นยศ
    ตื่นไฟ
  4. รู้สิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ในคำว่า พระพุทธเจ้าเป็นผู้ตื่นแล้ว
  5. โดยปริยายหมายความว่า รู้เท่าทัน, รู้ตัวขึ้น

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข