愛
|
ข้ามภาษาแก้ไข
ลำดับขีด | |||
---|---|---|---|
รากอักษรแก้ไข
แม่แบบ:liushu: phonetic 㤅 + semantic 夊
อักษรจีนแก้ไข
愛 (รากอักษรจีนที่ 61, 心+9, 13 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 月月心水 (BBPE), การป้อนสี่มุม 20247, การประกอบ ⿳爫冖𢖻)
อักษรเกี่ยวข้องแก้ไข
- 僾(𫣊), 噯(嗳), 嬡(嫒), 懓(𭞄), 曖(暧), 燰(𬊺), 璦(瑷), 皧, 瞹, 薆(𫉁), 鑀, 靉(叆), 鱫, 𣜬(𪳗), 𤻅, 𥖦, 𥣁, 𥴨(𫂖), 𦆔, 𦡝(𫆫), 𧓁, 𧞇, 𨙤, 𨣥, 𩡣(𩡖), 𪇈, 𪒱, 𭩊, 𮙀
อ้างอิงแก้ไข
- พจนานุกรมคังซี: หน้า 395 อักขระตัวที่ 13
- พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 10947
- พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 732 อักขระตัวที่ 2
- พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 4 หน้า 2323 อักขระตัวที่ 1
- ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+611B
ภาษาจีนแก้ไข
ตัวเต็ม | 愛 | |
---|---|---|
ตัวย่อ | 爱 | |
รูปแบบอื่น |
รากศัพท์แก้ไข
รูปในอดีตของตัวอักษร 愛 | |
---|---|
ยุครณรัฐ | ซัวเหวินเจี่ยจื้อ (แต่งใน ร. ฮั่น) |
รอยจารึกสัมฤทธิ์ | อักษรประทับเล็ก |
การออกเสียงแก้ไข
คำกริยาแก้ไข
愛
- รัก
- รักอย่างทะนุถนอม
- ชอบ
- ชอบ (ที่จะทำกิริยาใด ๆ), มักจะ
- (กวางตุ้ง, แคะ, อู๋) ต้องการ (สิ่งของ)
- (หมิ่น, แคะ) ต้องการ, จำเป็น, ต้องทำ
คำวิสามานยนามแก้ไข
愛
- ชื่อสกุลหนึ่ง
คำนามแก้ไข
愛
คำคุณศัพท์แก้ไข
愛
คำประสมแก้ไข
ภาษาญี่ปุ่นแก้ไข
คันจิแก้ไข
การอ่านแก้ไข
- โกะอง: あい (ai, Jōyō); お (o)
- คังอง: あい (ai, Jōyō)
- คุง: いつくしむ (itsukushimu, 愛しむ); いとしい (itoshii, 愛しい); いとおしむ (itooshimu, 愛おしむ); おしむ (oshimu, 愛しむ); まな (mana, 愛); めでる (mederu, 愛でる); めで (mede, 愛で); めで (mede, 愛)
- นะโนะริ: あ (a); あい (ai); あし (ashi); え (e); かな (kana); なる (naru); めぐ (megu); めぐみ (megumi); よし (yoshi); ちか (chika)
คำประสมแก้ไข
รากศัพท์ 1แก้ไข
คันจิในศัพท์นี้ |
---|
愛 |
あい ระดับ: 4 |
อนโยะมิ |
จากภาษาจีนยุคกลาง 愛 (/ʔojH/ invalid IPA characters (H), “รัก”) เทียบภาษาจีนกลางสมัยใหม่ 愛/爱 (ài).
การออกเสียงแก้ไข
- อนโยะมิ
- (โตเกียว) あい [áꜜì] (อะตะมะดะกะ - [1])[1][2]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [a̠i]
คำนามแก้ไข
愛 (อะอิ) (ฮิระงะนะ あい, โรมะจิ ai)
คำพ้องความแก้ไข
- (ความรัก): 愛情 (aijō)
- (ความรัก มักมีความหมายในทางกามารมณ์มากกว่า): 恋 (koi)
- (ความรัก มักมีความหมายในทางกามารมณ์มากกว่า): 恋愛 (ren'ai)
คำเกี่ยวข้องแก้ไข
คำวิสามานยนามแก้ไข
愛 (อะอิ) (ฮิระงะนะ あい, โรมะจิ Ai)
- ชื่อบุคคลหญิง
- ชื่อสกุล
รากศัพท์ 2แก้ไข
คันจิในศัพท์นี้ |
---|
愛 |
めで ระดับ: 4 |
คุนโยะมิ |
รูป 連用形 (ren'yōkei, “รูปต่อเนื่องหรือต้นคำ”) ของคำกริยาภาษาญี่ปุ่นเก่า 愛でる (mederu, “รัก; ชื่นชม; นับถือ”).[3][1]
การออกเสียงแก้ไข
- คุนโยะมิ
- (โตเกียว) めで [mèdéꜜ] (โอะดะกะ - [2])
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [me̞de̞]
รูปแบบอื่นแก้ไข
คำนามแก้ไข
愛 (เมะเดะ) (ฮิระงะนะ めで, โรมะจิ mede)
คำเกี่ยวข้องแก้ไข
รากศัพท์ 3แก้ไข
คันจิในศัพท์นี้ |
---|
愛 |
まな ระดับ: 4 |
คุนโยะมิ |
เริ่มแรกนั้นประสมจาก 真 (ma, “แท้จริง”) + な (na) คำในภาษาญี่ปุ่นเก่าเทียบเท่ากับคำในภาษาญี่ปุ่น の (no, คำอนุภาคแสดงความเป็นเจ้าของ)[3] การใช้ 愛 ในที่นี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของ ateji
การออกเสียงแก้ไข
- คุนโยะมิ
- (โตเกียว) まな [màná] (เฮบัง - [0])
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [ma̠na̠]
คำนามแก้ไข
愛 (มะนะ) (ฮิระงะนะ まな, โรมะจิ mana)
คำอุปสรรคแก้ไข
愛 (มะนะ) (ฮิระงะนะ まな, โรมะจิ mana-)
- ใช้นำหน้านามทั่วไป แสดงความหมายในเชิงชื่นชมหรือมีคุณค่า: ดี, แท้จริง
- ใช้นำหน้านามบุคคล แสดงความหมายในเชิงยกย่องหรือชื่นชอบ: ที่รัก
คำแผลงแก้ไข
คำวิสามานยนามแก้ไข
愛 (มะนะ) (ฮิระงะนะ まな, โรมะจิ Mana)
- ชื่อบุคคลหญิง
รากศัพท์ 4แก้ไข
หลายชื่อใช้เป็น ateji ซึ่ง 愛 เป็นอักษรที่ใช้แทนชื่อจำนวนมาก
คำวิสามานยนามแก้ไข
愛 (อะส̱ึมิ) (ฮิระงะนะ あづみ, โรมะจิ Azumi, การออกเสียงแบบอื่น ああい, โรมะจิ Āi, การออกเสียงแบบอื่น あいか, โรมะจิ Aika, การออกเสียงแบบอื่น あいす, โรมะจิ Aisu, การออกเสียงแบบอื่น あき, โรมะจิ Aki, การออกเสียงแบบอื่น あこ, โรมะจิ Ako, การออกเสียงแบบอื่น あみか, โรมะจิ Amika, การออกเสียงแบบอื่น あおい, โรมะจิ Aoi, การออกเสียงแบบอื่น ありさ, โรมะจิ Arisa, การออกเสียงแบบอื่น あや, โรมะจิ Aya, การออกเสียงแบบอื่น あゆ, โรมะจิ Ayu, การออกเสียงแบบอื่น ちぎり, โรมะจิ Chigiri, การออกเสียงแบบอื่น ちか, โรมะจิ Chika, การออกเสียงแบบอื่น ちかし, โรมะจิ Chikashi, การออกเสียงแบบอื่น えりな, โรมะจิ Erina, การออกเสียงแบบอื่น はあと, โรมะจิ Hāto, การออกเสียงแบบอื่น ひかり, โรมะจิ Hikari, การออกเสียงแบบอื่น いと, โรมะจิ Ito, การออกเสียงแบบอื่น いとし, โรมะจิ Itoshi, การออกเสียงแบบอื่น いつみ, โรมะจิ Itsumi, การออกเสียงแบบอื่น いずみ, โรมะจิ Izumi, การออกเสียงแบบอื่น かな, โรมะจิ Kana, การออกเสียงแบบอื่น かなえ, โรมะจิ Kanae, การออกเสียงแบบอื่น かなさ, โรมะจิ Kanasa, การออกเสียงแบบอื่น きずな, โรมะจิ Kizuna, การออกเสียงแบบอื่น こころ, โรมะจิ Kokoro, การออกเสียงแบบอื่น このむ, โรมะจิ Konomu, การออกเสียงแบบอื่น まどか, โรมะจิ Madoka, การออกเสียงแบบอื่น まなぶ, โรมะจิ Manabu, การออกเสียงแบบอื่น まなみ, โรมะจิ Manami, การออกเสียงแบบอื่น めづる, โรมะจิ Mezuru, การออกเสียงแบบอื่น めご, โรมะจิ Mego, การออกเสียงแบบอื่น めぐ, โรมะจิ Megu, การออกเสียงแบบอื่น めぐみ, โรมะจิ Megumi, การออกเสียงแบบอื่น めぐむ, โรมะจิ Megumu, การออกเสียงแบบอื่น めい, โรมะจิ Mei, การออกเสียงแบบอื่น なる, โรมะจิ Naru, การออกเสียงแบบอื่น なるこ, โรมะจิ Naruko, การออกเสียงแบบอื่น のぞみ, โรมะจิ Nozomi, การออกเสียงแบบอื่น らぶ, โรมะจิ Rabu, การออกเสียงแบบอื่น るい, โรมะจิ Rui, การออกเสียงแบบอื่น さら, โรมะจิ Sara, การออกเสียงแบบอื่น さらん, โรมะจิ Saran, การออกเสียงแบบอื่น つぐみ, โรมะจิ Tsugumi, การออกเสียงแบบอื่น つくみ, โรมะจิ Tsukumi, การออกเสียงแบบอื่น うい, โรมะจิ Ui, การออกเสียงแบบอื่น よし, โรมะจิ Yoshi, การออกเสียงแบบอื่น よしき, โรมะจิ Yoshiki, การออกเสียงแบบอื่น よしみ, โรมะจิ Yoshimi)
- ชื่อบุคคลหญิง
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ 1.0 1.1 2549 (2006), 大辞林 (ไดจิริน), ปรับปรุงครั้งที่ 3 (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: ซันเซอิโด, →ISBN
- ↑ 2541 (1998), NHK日本語発音アクセント辞典 (พจนานุกรมสำเนียงการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นโดยเอ็นเอชเค) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: เอ็นเอชเค, →ISBN
- ↑ 3.0 3.1 2531 (1988), 国語大辞典(新装版) (Kokugo Dai Jiten, ฉบับปรับปรุงใหม่) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: โชงะกุกัง
ภาษาเกาหลีแก้ไข
ฮันจาแก้ไข
愛 (ต้องการถอดอักษร)