สระ
ภาษาไทยแก้ไข
รากศัพท์ 1แก้ไข
ยืมมาจากภาษาบาลี สร (“แอ่งน้ำ”); เทียบภาษาสันสกฤต सरस् (สรสฺ, “แอ่งน้ำ”)
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | สะ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sà |
ราชบัณฑิตยสภา | sa | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /saʔ˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | สะ |
คำนามแก้ไข
สระ (คำลักษณนาม สระ)
รากศัพท์ 2แก้ไข
ยืมมาจากภาษาบาลี สร (“เสียงสระ”); เทียบภาษาสันสกฤต स्वर (สฺวร, “เสียงสระ”)
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | สะ-หฺระ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sà-rà |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-ra | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sa˨˩.raʔ˨˩/(สัมผัส) |
คำนามแก้ไข
สระ (คำลักษณนาม เสียง หรือ รูป หรือ ตัว)
- เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสำคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะหรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, เสียงสระ ก็เรียก
- ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงสระ เช่นะ า, รูปสระ ก็เรียก
รากศัพท์ 3แก้ไข
ยืมมาจากภาษาบาลี สร (“เสียง”); เทียบภาษาสันสกฤต स्वर (สฺวร, “เสียง”)
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | สะ-ระ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sà-rá |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-ra | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sa˨˩.raʔ˦˥/(สัมผัส) |
คำนามแก้ไข
สระ
- เสียง
รากศัพท์ 4แก้ไข
เทียบภาษาลาว ສະ (สะ), ภาษาไทลื้อ ᦉ (ส)
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | สะ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sà |
ราชบัณฑิตยสภา | sa | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /saʔ˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | สะ |
คำกริยาแก้ไข
สระ (คำอาการนาม การสระ)