เอก
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขยืมมาจากภาษาสันสกฤต एक (เอก) หรือภาษาบาลี เอก
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | เอก | [เสียงสมาส] เอ-กะ- | [เสียงสมาส] เอก-กะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | èek | ee-gà- | èek-gà- |
ราชบัณฑิตยสภา | ek | e-ka- | ek-ka- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔeːk̚˨˩/(สัมผัส) | /ʔeː˧.ka˨˩./ | /ʔeːk̚˨˩.ka˨˩./ |
เลข
แก้ไขเอก
- (ภาษาหนังสือ) หนึ่ง
- ชั้นที่ 1 (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศ ตำแหน่ง คุณภาพ หรือวิทยฐานะ สูงกว่า โท)
- ข้าราชการชั้นเอก
- ปริญญาเอก
คำคุณศัพท์
แก้ไขเอก
- เรียกเครื่องหมายวรรณยุกต์รูปดังนี้ ◌่ ว่า ไม้เอก
- ดีเลิศ
- กวีเอก
- สำคัญ
- ตัวเอก
- เรียกระนาดที่มีเสียงแกร่งกร้าวกว่าระนาดทุ้ม มีไม้แข็ง 2 อันสำหรับตี ว่า ระนาดเอก
คำนาม
แก้ไขเอก
ภาษาบาลี
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไขเขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
แก้ไขเลข
แก้ไขเอก
การผันรูป
แก้ไขแจกตามแบบ ย คุณนาม
ตารางการผันรูปของ "เอก" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | เอโก | เอเก |
กรรมการก (ทุติยา) | เอกํ | เอเก |
กรณการก (ตติยา) | เอเกน | เอเกหิ หรือ เอเกภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | เอกสฺส | เอเกสํ หรือ เอเกสานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | เอกสฺมา หรือ เอกมฺหา | เอเกหิ หรือ เอเกภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | เอกสฺส | เอเกสํ หรือ เอเกสานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | เอกสฺมิํ หรือ เอกมฺหิ | เอเกสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | เอก | เอเก |
ตารางการผันรูปของ "เอกา" (เพศหญิง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | เอกา | เอกาโย หรือ เอกา |
กรรมการก (ทุติยา) | เอกํ | เอกาโย หรือ เอกา |
กรณการก (ตติยา) | เอกาย | เอกาหิ หรือ เอกาภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | เอกิสฺสา หรือ เอกิสฺสาย | เอกาสํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | เอกาย | เอกาหิ หรือ เอกาภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | เอกิสฺสา หรือ เอกิสฺสาย | เอกาสํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | เอกาย หรือ เอกายํ หรือ เอกิสฺสํ | เอกาสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | เอเก | เอกาโย หรือ เอกา |
ตารางการผันรูปของ "เอก" (เพศกลาง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | เอกํ | เอกานิ |
กรรมการก (ทุติยา) | เอกํ | เอกานิ |
กรณการก (ตติยา) | เอเกน | เอเกหิ หรือ เอเกภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | เอกสฺส | เอเกสํ หรือ เอเกสานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | เอกสฺมา หรือ เอกมฺหา | เอเกหิ หรือ เอเกภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | เอกสฺส | เอเกสํ หรือ เอเกสานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | เอกสฺมิํ หรือ เอกมฺหิ | เอเกสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | เอก | เอกานิ |