ภาษาไทย

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʔalᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ອັນ (อัน), ภาษาคำเมือง ᩋᩢ᩠ᨶ (อัน), ภาษาไทลื้อ ᦀᧃ (อัน), ภาษาไทดำ ꪮꪽ (อัน), ภาษาไทใหญ่ ဢၼ် (อัน), ภาษาอาหม 𑜒𑜃𑜫 (อน์), ภาษาจ้วง aen

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์อัน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงan
ราชบัณฑิตยสภาan
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔan˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงอันต์

คำนาม

แก้ไข

อัน

  1. สิ่ง, ชิ้น
  2. ทะลาย
    อันหมาก
    อันมะพร้าว
  3. คำบอกลักษณะสิ่งของซึ่งโดยปรกติมีลักษณะแบนยาวหรือเป็นชิ้นเป็นแผ่นเป็นต้น

คำลักษณนาม

แก้ไข

อัน

  1. ลักษณนามเรียกสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น
    ไม้อันหนึ่ง
    ไม้ 2 อัน
  2. เวลากำหนดสำหรับชนไก่พักหนึ่ง ๆ

คำสรรพนาม

แก้ไข

อัน

  1. คำใช้แทนนามหรือข้อความที่อยู่ข้างหน้า
    ความจริงอันปรากฏขึ้นมา

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

อัน

  1. อย่าง
    เป็นอันมาก
    เป็นอันดี

คำอนุภาค

แก้ไข

อัน

  1. ใช้เป็นคำกำกับนามที่เป็นประธาน หรือใช้ขึ้นต้นข้อความต่าง ๆ, ใช้ว่า อันว่า ก็มี
    อันอายุความนั้น ถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ท่านให้มีกำหนดสิบปี
    (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 ฉบับเก่า)

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

อัน

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩋᩢ᩠ᨶ (อัน)