ภาษาไทยแก้ไข

รากศัพท์ 1แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊົນ (ซ็น); เทียบภาษาเขมร ជល់ (ชล̍), ภาษาจีนยุคกลาง (MC t͡ɕʰɨoŋ), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง cwnj (เฉิ้น-พุ่งเขาไปชนอย่างแรง)

การออกเสียงแก้ไข

การแบ่งพยางค์ชน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchon
ราชบัณฑิตยสภาchon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰon˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงชนม์
ชล

คำกริยาแก้ไข

ชน (คำอาการนาม การชน)

  1. โดนแรง
    รถยนต์ชนต้นไม้
  2. ชิดจนติด
    ตั้งตู้ชนฝา
  3. บรรจบ
    ชนขวบ
  4. ให้ต่อสู้กัน (ใช้กับสัตว์บางชนิด)
    ชนโค
    ชนไก่

คำนามแก้ไข

ชน

  1. เรียกไก่อูชนิดหนึ่งที่เลี้ยงไว้ชนกันว่า ไก่ชน
คำประสมแก้ไข

รากศัพท์ 2แก้ไข

จากภาษาสันสกฤต जन (ชน, คน) หรือภาษาบาลี ชน (คน); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊົນ (ซ็น)

การออกเสียงแก้ไข

การแบ่งพยางค์
{เสียงพยัญชนะซ้ำ}
ชน[เสียงสมาส]
ชน-นะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchonchon-ná-
ราชบัณฑิตยสภาchonchon-na-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰon˧/(สัมผัส)/t͡ɕʰon˧.na˦˥./
คำพ้องเสียงชนม์
ชล

คำนามแก้ไข

ชน

  1. (ภาษาหนังสือ) คน
คำประสมแก้ไข

รากศัพท์ 3แก้ไข

การออกเสียงแก้ไข

การแบ่งพยางค์ชอ-นอ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchɔɔ-nɔɔ
ราชบัณฑิตยสภาcho-no
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰɔː˧.nɔː˧/(สัมผัส)

คำวิสามานยนามแก้ไข

ชน

  1. อักษรย่อของ ชัยนาท

ภาษาบาลีแก้ไข

รูปแบบอื่นแก้ไข

คำนามแก้ไข

ชน ช.

  1. คน

การผันรูปแก้ไข