ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ชิน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchin
ราชบัณฑิตยสภาchin
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰin˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

เทียบภาษาจีนยุคกลาง (MC ywen, “ตะกั่วดำ”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊືນ (ซืน), ภาษาคำเมือง ᨩᩨ᩠ᨶ (ชืน), ภาษาเขิน ᨩᩨ᩠ᨶ (ชืน), ภาษาไทลื้อ ᦋᦹᧃ (ชืน), ภาษาไทดำ ꪋꪳꪙ (จึ̱น), ภาษาไทใหญ่ ၸိုၼ်း (จึ๊น), ภาษาไทใต้คง ᥓᥧᥢᥰ (จู๊น)

รูปแบบอื่น แก้ไข

คำนาม แก้ไข

ชิน

  1. โลหะเจือชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยตะกั่วและดีบุก นิยมใช้ทำพระเครื่อง
  2. (โบราณ) ดีบุกดำหรือตะกั่วดำ
คำสืบทอด แก้ไข
  • คำเมือง: ᨩᩥ᩠ᨶ (ชิน) (อีกคำหนึ่งนอกจากที่ร่วมเชื้อสาย)

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ชิน (คำอาการนาม การชิน หรือ ความชิน)

  1. เคยบ่อย ๆ จนคุ้นหรือเจน

รากศัพท์ 3 แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ชิน (คำอาการนาม การชิน)

  1. บุอย่างบุทองแดง

รากศัพท์ 4 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต जैन (ไชน, เชน)

คำวิสามานยนาม แก้ไข

ชิน

  1. อีกรูปหนึ่งของ เชน

รากศัพท์ 5 แก้ไข

 
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

ยืมมาจากภาษาพม่า ချင်း (ขฺยง์:)

คำวิสามานยนาม แก้ไข

ชิน

  1. ชื่อรัฐหนึ่งของประเทศพม่า

รากศัพท์ 6 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต जिन (ชิน, ผู้ชนะ), จากภาษาบาลี ชิน (ผู้ชนะ)

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์[เสียงสมาส]
ชิ-นะ-
[เสียงสมาส]
ชิน-นะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchí-ná-chin-ná-
ราชบัณฑิตยสภาchi-na-chin-na-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰi˦˥.na˦˥.//t͡ɕʰin˧.na˦˥./

คำนาม แก้ไข

ชิน

  1. ผู้ชนะ
  2. พระพุทธเจ้า, ใช้ประกอบกับคำอื่นเป็น ชินวร ชิเนนทร์

ภาษาคำเมือง แก้ไข

คำนาม แก้ไข

ชิน

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨩᩥ᩠ᨶ (ชิน)