ดูเพิ่ม: เตียว

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨲ᩠ᨿ᩵ᩅ (ตย่ว), ภาษาลาว ຕ່ຽວ (ต่ย̂ว) หรือ ກະຕ່ຽວ (กะต่ย̂ว), ภาษาอีสาน เตี่ยว หรือ กะเตี่ยว, ภาษาเขิน ᨲ᩠ᨿ᩵ᩴ (ตย่ํ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦎᧁᧈ (เต่ว), ภาษาไทใหญ่ တဵဝ်ႇ (เต่ว)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เตี่ยว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtìao
ราชบัณฑิตยสภาtiao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tia̯w˨˩/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

เตี่ยว

  1. ผ้าแคบยาวสำหรับคาดปากหม้อกันไม่ให้ไอร้อนออกเวลานึ่งของ
  2. ผ้าขัดหนอกผู้หญิงสำหรับซับระดูหรืออยู่กระดานไฟ
  3. ผ้านุ่งผืนเล็กยาว ที่นุ่งคาดเอว พับชายที่ลอดหว่างขาให้ด้านหน้าปิดของลับ แล้วผูกชายผ้าไว้ด้านหลัง อย่างการนุ่งเตี่ยวของนักกีฬาซูโม่[1]
  4. ใบตองหรือใบมะพร้าวสำหรับคาดกลัดห่อขนม เช่นห่อข้าวหมาก ห่อขนมตาล
  5. (ภาษาปาก) กางเกง

คำกริยา

แก้ไข

เตี่ยว

  1. มัดด้วยผ้าเตี่ยว
  2. คาดให้แน่น

อ้างอิง

แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

เตี่ยว

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨲ᩠ᨿ᩵ᩅ (ตย่ว)