ดูเพิ่ม: ม่าน และ ม๊าน

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์มาน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmaan
ราชบัณฑิตยสภาman
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/maːn˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงมาร
มาลย์

รากศัพท์ 1

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

มาน

  1. ชื่อโรคจำพวกหนึ่ง เกิดได้หลายสาเหตุ เช่น มีถุงน้ำเกิดที่เยื่อบุช่องท้อง การอุดกั้นหลอดเลือดดำหรือทางเดินของน้ำเหลือง ตับแข็ง ลิ้นหัวใจพิการ ไตอักเสบเรื้อรัง ทำให้มีน้ำสีเหลืองใสอยู่ในช่องท้อง อาจมีเพียงเล็กน้อยหรือมากถึง 15-20 ลิตร เป็นเหตุให้หน้าท้องโป่งพองจนเห็นได้ชัด น้ำหนักเพิ่ม แน่นท้อง ท้องผูก เบื่ออาหาร หายใจลำบาก เท้าบวม เป็นต้น
ลูกคำ
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต मान (มาน, ความถือตัว) หรือภาษาบาลี มาน (ความถือตัว)

คำนาม

แก้ไข

มาน

  1. ความถือตัว

ดูเพิ่ม

แก้ไข

รากศัพท์ 3

แก้ไข

แผลงมาจาก มน, จากภาษาสันสกฤต मन (มน, ใจ) หรือภาษาบาลี มน (ใจ)

คำนาม

แก้ไข

มาน

  1. (ร้อยกรอง) ใจ, ดวงใจ
    ดวงมาน

รากศัพท์ 4

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า មាន (มาน, มี)

คำกริยา

แก้ไข

มาน

  1. (ร้อยกรอง, สกรรม) มี
    มานพระบัณฑูร

รากศัพท์ 5

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ມານ (มาน), ภาษาไทลื้อ ᦙᦱᧃ (มาน), ภาษาไทใหญ่ မၢၼ်း (ม๊าน), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mat (มาด) (เช่น mat lug, มาดลูก, "ตั้งท้อง")

คำกริยา

แก้ไข

มาน

  1. (โบราณ) ตั้งท้อง
    มานลูก
    ข้าวมาน

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

มาน (คำอาการนาม ก๋ารมาน หรือ ก๋านมาน)

  1. (อกรรม, สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨾᩣ᩠ᨶ (มาน)