ดูเพิ่ม: ใส่ และ ใส้

ภาษาไทย แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *saɰᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩲ (ใส), ภาษาอีสาน ใส, ภาษาลาว ໃສ (ใส), ภาษาไทลื้อ ᦺᦉ (ไส), ภาษาไทดำ ꪻꪎ (ใส), ภาษาไทใหญ่ သႂ် (ใส), ภาษาไทใต้คง ᥔᥬᥴ (ใส๋), ภาษาอาหม 𑜏𑜧 (สว์) หรือ 𑜏𑜧𑜤 (สาว์), ภาษาจ้วง saw

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ไส
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsǎi
ราชบัณฑิตยสภาsai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/saj˩˩˦/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ใส (คำอาการนาม ความใส)

  1. แจ่มกระจ่าง
    ฟ้าใส
  2. ไม่ขุ่น, ไม่มัว
    น้ำใส
    กระจกใส

คำแปลภาษาอื่น แก้ไข

ภาษาอีสาน แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *saɰᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ใส, ภาษาคำเมือง ᩈᩲ (ใส), ภาษาลาว ໃສ (ใส), ภาษาไทลื้อ ᦺᦉ (ไส), ภาษาไทดำ ꪻꪎ (ใส), ภาษาไทใหญ่ သႂ် (ใส), ภาษาไทใต้คง ᥔᥬᥴ (ใส๋), ภาษาอาหม 𑜏𑜧 (สว์) หรือ 𑜏𑜧𑜤 (สาว์), ภาษาจ้วง saw

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ใส (คำอาการนาม ความใส)

  1. ใส

รากศัพท์ 2 แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

คำสรรพนาม แก้ไข

ใส

  1. ที่ไหน