ดูเพิ่ม: ไต่, ไต้, และ ไต๋

ภาษาไทย

แก้ไข
 
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia
 
ไต

รูปแบบอื่น

แก้ไข
  • (เลิกใช้) ใต

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *taɰᴬ² (กึ๋น; ไต), จากภาษาไทดั้งเดิม *p.taɰᴬ (กึ๋น); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໃຕ (ใต), ໄຕ (ไต), หรือ ເຕີ (เตี), ภาษาไทลื้อ ᦺᦎ (ไต, กึ๋น; ไต), ภาษาไทดำ ꪻꪔ (ใต, กึ๋น), ภาษาไทขาว ꪻꪔ (กึ๋น), ภาษาพ่าเก တၞ် (ใต, ไต), ภาษาจ้วง daw (กึ๋น), ภาษาแสก เต๋อ (กึ๋น; ไต); เทียบภาษาไทใหญ่ တႂ် (ใต, การแข็งหรือด้านที่เกิดจากการเสียดสีของผิวหนัง) สำหรับความหมาย 2

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ไต
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtai
ราชบัณฑิตยสภาtai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/taj˧/(สัมผัส)
ไฟล์เสียง

คำนาม

แก้ไข

ไต

  1. อวัยวะคู่หนึ่งของคนและสัตว์ อยู่ในช่องท้องใกล้กระดูกสันหลัง ทำหน้าที่ขับของเสียออกมากับน้ำปัสสาวะ (คำลักษณนาม ข้าง หรือ ลูก)
  2. สิ่งซึ่งเป็นก้อนแข็งอยู่ในเนื้อ

คำพ้องความ

แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำวิสามานยนาม

แก้ไข

ไต

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨴᩱ (ไท)
  2. อีกรูปหนึ่งของ ᨴᩱ᩠ᨿ (ไทย)

คำนาม

แก้ไข

ไต

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨴᩱ (ไท)