สุก
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สุก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sùk |
ราชบัณฑิตยสภา | suk | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /suk̚˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
รากศัพท์ 1
แก้ไขยืมมาจากจีนยุคกลาง 熟 (MC dzyuwk); ร่วมเชื้อสายกับลาว ສຸກ (สุก), ไทใหญ่ သုၵ်း (สุ๊ก), อาหม 𑜏𑜤𑜀𑜫 (สุก์), จ้วง sug; เทียบสุ่ย sog, ไหลดั้งเดิม *sʰɯːk
คำกริยา
แก้ไขสุก (คำอาการนาม การสุก หรือ ความสุก)
- พ้นจากห่าม
- ผลไม้สุก
- เปลี่ยนสภาพจากดิบด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ อย่างต้ม ผัด ย่าง เป็นต้น
- ต้มไก่สุกแล้ว
- ย่างเนื้อให้สุก
- ถึงระยะที่ได้ที่หรือแก่จัดแล้ว
- ข้าวในนาสุกเกี่ยวได้แล้ว
- ฝีสุกจนแตก
- ต้อสุกผ่าได้แล้ว
- โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น
- ร้อนจนเนื้อตัวจะสุกแล้ว
- ถูกเขาต้มจนสุก
- เรียกชายที่บวชเป็นพระภิกษุและสึกแล้วว่า คนสุก
- ปลั่งเป็นมันแวววาว
- ทองเนื้อสุกดี
รากศัพท์ 2
แก้ไขยืมมาจากบาลี สุก (“นกแก้ว”); เทียบสันสกฤต शुक (ศุก, “นกแก้ว”)
คำนาม
แก้ไขสุก
รากศัพท์ 3
แก้ไขคำกริยา
แก้ไขสุก (คำอาการนาม การสุก)
รากศัพท์ 4
แก้ไขยืมมาจากบาลี สุกฺก (“ขาว, สว่าง”); เทียบสันสกฤต शुक्र (ศุกฺร, “ขาว, สว่าง”)
รูปแบบอื่น
แก้ไข- ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:parameters บรรทัดที่ 573: Parameter 1 should be a valid language or etymology language code; the value "ล้าสมัย" is not valid. See WT:LOL and WT:LOL/E. สุกก
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | [เสียงสมาส] สุก-กะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sùk-gà- |
ราชบัณฑิตยสภา | suk-ka- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /suk̚˨˩.ka˨˩./ |
คำคุณศัพท์
แก้ไขสุก