สัก
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สัก | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sàk |
ราชบัณฑิตยสภา | sak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sak̚˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
รากศัพท์ 1
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับ จ้วง maex saeg (ไม้สัก, “ต้นสัก”)
คำนาม
แก้ไขสัก
- ชื่อไม้ต้นชนิด Tectona grandis L.f. ในวงศ์ Labiatae เนื้อไม้แข็งและคงทน เหมาะแก่การสร้างบ้านและทำเครื่องเรือน ใบและเนื้อไม้ใช้ทำยาได้
ลูกคำ
แก้ไขรากศัพท์ 2
แก้ไขคำกริยา
แก้ไขสัก (คำอาการนาม การสัก)
ลูกคำ
แก้ไขรากศัพท์ 3
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับจ้วง caeg (ชัก, ปัก, แทง, สัก)
คำกริยา
แก้ไขสัก (คำอาการนาม การสัก)
- เอาของแหลมแทงลงด้วยวิธีการหรือเพื่อประโยชน์ต่าง ๆ กัน
- สักปลาไหล
- สักหาของในน้ำ
- สักรอยช้ำเพื่อรีดเอาเลือดที่คั่งออก
- ใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกหรือน้ำมันแทงที่ผิวหนังให้เป็นอักขระเครื่องหมายหรือลวดลาย, ถ้าใช้หมึก เรียกว่า สักหมึก, ถ้าใช้น้ำมัน เรียกว่า สักน้ำมัน
- (โบราณ) ทำเครื่องหมายโดยใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกจิ้มที่ผิวหนังเพื่อแสดงเป็นหลักฐานบนร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่ง เช่น สักข้อมือ แสดงว่าได้ขึ้นทะเบียนเป็นชายฉกรรจ์หรือเป็นเลกมีสังกัดกรมกองแล้ว สักหน้า แสดงว่าเป็นผู้ที่ต้องโทษปาราชิกเป็นต้น
ลูกคำ
แก้ไขรากศัพท์ 4
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับไทดำ ꪎꪰꪀ (สัก), จ้วง saek (ซัก, “สักวัน”)
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สัก | ซัก | |
---|---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sàk | sák |
ราชบัณฑิตยสภา | sak | sak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sak̚˨˩/(สัมผัส) | /sak̚˦˥/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
คำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขสัก