ชง
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | ชง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chong |
ราชบัณฑิตยสภา | chong | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰoŋ˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ชงฆ์ |
รากศัพท์ 1
แก้ไขจากภาษาฮกเกี้ยน 沖/冲 (chhiong, “เทน้ำ, ผสมน้ำ”)[1]
คำกริยา
แก้ไขชง (คำอาการนาม การชง)
- เทน้ำร้อนลงบนใบชาหรือสมุนไพรบางชนิดเป็นต้นเพื่อสกัดสาร กลิ่น หรือรสที่ต้องการ
- ชงชาจีน
- ชงชาดอกคำฝอย
- ใช้น้ำร้อนทำให้ละลาย, ผสมเครื่องดื่มประเภทผงด้วยน้ำร้อนและปรุงรสให้พร้อมที่จะรับประทาน
- ชงนม
- ชงกาแฟ
- เทน้ำร้อนจากกาลงในภาชนะอื่น ในคำว่า ชงน้ำร้อน
- ชงน้ำร้อนใส่กระติก
- (ภาษาปาก) เตรียมการให้, ดำเนินการให้
- เขาชงเรื่องให้รัฐมนตรีลงนาม
- (ภาษาปาก) เตะลูกบอลให้ผู้อื่นทำประตู
- เขาทำแฮ้ตถริกได้แต่กลับถล่มตัวว่าเพื่อนร่วมทีมชงลูกได้ดี
รากศัพท์ 2
แก้ไขยืมมาจากภาษาแต้จิ๋ว 衝/冲 (chhiong, “ชน, ปะทะ”)[1]; เป็นศัพท์โหราศาสตร์
คำกริยา
แก้ไขชง (คำอาการนาม การชง)
คำคุณศัพท์
แก้ไขชง
อ้างอิง
แก้ไข- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 52-53.
- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 3 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต, 2554. หน้า 40-41.
ภาษาปักษ์ใต้
แก้ไขคำกริยา
แก้ไขชง (คำอาการนาม ก่านชง)