ภาษาไทย

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

เป็นไปได้ว่ายืมมาจากภาษาถิ่นภาษาใดภาษาหนึ่งของจีน (jiǎnzi, bāofu, chuí, กรรไกร, ผ้าห่อ, ค้อน) ซึ่งต่อมากลายเป็น (bāo, jiǎn, chuí)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เป่า-ยิ้ง-ฉุบ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงbpào-yíng-chùp
ราชบัณฑิตยสภาpao-ying-chup
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/paw˨˩.jiŋ˦˥.t͡ɕʰup̚˨˩/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

เป่ายิ้งฉุบ

  1. การละเล่นอย่างหนึ่ง ปกติมีผู้เล่นสองคน ทำมืออย่างใดอย่างหนึ่งออกพร้อมกัน ได้แก่ กำมือคือค้อน ชูสองนิ้วคือกรรไกร แบมือคือกระดาษ (เดิมคือผ้า) โดยที่ค้อนชนะกรรไกร กรรไกรชนะกระดาษ และกระดาษชนะค้อน ถ้าออกเหมือนกันคือเสมอ

คำกริยา

แก้ไข

เป่ายิ้งฉุบ (คำอาการนาม การเป่ายิ้งฉุบ)

  1. เล่นการละเล่นดังกล่าว