ดูเพิ่ม: นว, นัว, และ นิ่ว

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *niːwꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ນິ້ວ (นิ้ว) หรือ ນີ້ວ (นี้ว), ภาษาคำเมือง ᨶᩥ᩠᩶ᩅ (นิ้ว), ภาษาไทลื้อ ᦓᦲᧁᧉ (นี้ว), ภาษาไทดำ ꪙꪲ꫁ꪫ (นิ้ว), ภาษาไทขาว ꪙꪲꪫꫂ, ภาษาไทใหญ่ ၼိဝ်ႉ (นิ๎ว), ภาษาไทใต้คง ᥘᥥᥝᥳ (เล๎ว) หรือ ᥢᥥᥝᥳ (เน๎ว), ภาษาพ่าเก ꩫိဝ် (นิว์), ภาษาอาหม 𑜃𑜢𑜈𑜫 (นิว์) หรือ 𑜐𑜢𑜈𑜫 (ญิว์), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง niux, ภาษาจ้วง niux

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์นิ้ว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงníu
ราชบัณฑิตยสภาnio
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/niw˦˥/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

นิ้ว

  1. ส่วนสุดของมือหรือเท้า แยกออกเป็น 5 กิ่ง คือ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อย ราชาศัพท์ว่า พระอังคุฐ พระดัชนี พระมัชฌิมา พระอนามิกา พระกนิษฐา โดยลำดับ ถ้าเป็นนิ้วเท้านิ้วต้น เรียกว่า นิ้วหัวแม่เท้า นอกนั้นอนุโลมเรียกตามนิ้วมือ (คำลักษณนาม นิ้ว)
  2. (ล้าสมัย) มาตราวัดตามวิธีประเพณี 1 นิ้ว เท่ากับ 4 กระเบียด และ 12 นิ้ว เป็น 1 คืบ
  3. มาตราวัดของอังกฤษ 1 นิ้ว เท่ากับ 2.5 เซนติเมตร และ 12 นิ้ว เป็น 1 ฟุต

ลูกคำ

แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

นิ้ว

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨶᩥ᩠᩶ᩅ (นิ้ว)