ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *kiŋᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩥ᩠᩵ᨦ (กิ่ง), ภาษาลาว ກິ່ງ (กิ่ง), ภาษาไทลื้อ ᦂᦲᧂᧈ (กี่ง), ภาษาเขิน ᨠᩥ᩠᩵ᨦ (กิ่ง), ภาษาไทใหญ่ ၵိင်ႇ (กิ่ง), ภาษาไทใต้คง ᥐᥤᥒᥱ (กี่ง), ภาษาอ่ายตน ကိင် (กิง์), ภาษาอาหม 𑜀𑜢𑜂𑜫 (กิง์)ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง kingh/hingh , ภาษาจ้วง hingh/nyingh

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์กิ่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgìng
ราชบัณฑิตยสภาking
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kiŋ˨˩/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

กิ่ง

  1. ส่วนที่แยกออกต้น, แขนง
  2. ใช้เรียกส่วนย่อยที่แยกออกไปจากส่วนใหญ่ แต่ก็ยังขึ้นอยู่กับส่วนใหญ่ เช่น กิ่งอำเภอ เป็นต้น
  3. ตำแหน่งเรือยาวของหลวงแต่โบราณที่ขึ้นระวางเป็นเรือพระที่นั่งในกระบวนพยุหยาตราชลมารค เรียกว่า เรือกิ่ง หรือ เรือพระที่นั่งกิ่ง

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำลักษณนาม

แก้ไข

กิ่ง

  1. เรียกงาช้าง

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

กิ่ง

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩥ᩠᩵ᨦ (กิ่ง, กิ่ง)
  2. อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩕᩥ᩠᩵ᨦ (กริ่ง, กริ่ง)

คำกริยา

แก้ไข

กิ่ง (คำอาการนาม ก๋ารกิ่ง หรือ ก๋านกิ่ง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩕᩥ᩠᩵ᨦ (กริ่ง, นึก, ระแวง)
  2. อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩖᩥ᩵ᨦ (กลิ่ง, นึก, ระแวง)