ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *soŋᴮ¹; เทียบภาษาจีนยุคกลาง (MC suwngH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ສົ່ງ (ส็่ง), ภาษาคำเมือง ᩈᩫ᩠᩵ᨦ (ส็่ง), ภาษาเขิน ᩈᩫ᩠᩵ᨦ (ส็่ง), ภาษาไทลื้อ ᦉᦳᧂᧈ (สุ่ง), ภาษาไทดำ ꪶꪎ꪿ꪉ (โส่ง), ภาษาไทใหญ่ သူင်ႇ (สู่ง), ภาษาไทใต้คง ᥔᥨᥒᥱ (โส่ง), ภาษาอาหม 𑜏𑜤𑜂𑜫 (สุง์)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ส่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsòng
ราชบัณฑิตยสภาsong
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/soŋ˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

ส่ง (คำอาการนาม การส่ง)

  1. ทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเคลื่อนพ้นจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เพื่อให้ถึงผู้รับหรือเป้าหมายด้วยอาการต่างกัน
    ส่งข้าม
    ส่งผ่าน
    ส่งต่อ
  2. หนุน ดัน หรือเสริมให้สูงขึ้น
    คนอยู่ข้างล่างช่วยส่งก้นคนข้างบนให้ปีนพ้นกำแพง
    ติดไม้ปั้นลมส่งหลังคาเรือน
  3. แสดงอัธยาศัยในเมื่อมีผู้จะจากไป
    ไปส่ง
    เลี้ยงส่ง
  4. อาการที่ส่งเครื่องหมาย ข้อความข่าวสาร หรือภาพ เป็นต้นไปให้อีกฝ่ายหนึ่งโดยอาศัยกรรมวิธีต่าง ๆ
    ส่งสัญญาณ
    ส่งรหัส
    ส่งโทรเลข
    ส่งวิทยุ
    ส่งโทรภาพ

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ส่ง

  1. การบรรเลงหรือขับร้องเมื่อจบท่อนหรือจบเพลง แล้วมีการทอดเสียงส่งต่อให้มีการปฏิบัติต่อไปอีก
    ร้องส่ง
    ร้องจบส่งให้ดนตรีรับ
    ส่งรำ
    ดนตรีบรรเลงจบแล้วทอดเสียงให้ผู้รำรำ

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ส่ง (คำอาการนาม ก๋ารส่ง หรือ ก๋านส่ง)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩫ᩠᩵ᨦ (ส็่ง)