เคย
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | เคย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kəəi |
ราชบัณฑิตยสภา | khoei | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰɤːj˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขคำนาม
แก้ไขเคย (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อกุ้งขนาดเล็กหลายชนิดหลายสกุล ใน 2 วงศ์ ได้แก่ วงศ์ Mysidae เช่น เคยตาดำ [Mesopodopsis orientalis (Tattersall)] อันดับ Mysidacea และวงศ์ Sergestidae เช่น เคยตาแดง (Acetes erythraeus Nobill) อันดับ Decapoda ขนาดยาวไม่เกิน 3.4 เซนติเมตร มีหนวด 2 แฉก ลำตัวแบนข้าง เปลือกบาง ใส เนื้อยุ่ย เหมาะสำหรับใช้หมักเกลือทำกะปิและน้ำเคย
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขเคย (คำอาการนาม ความเคย)
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไขคำประกอบหน้ากริยาที่ได้ทำมาแล้ว
คำกริยา
แก้ไขเคย (คำอาการนาม ความเคย)
ภาษาปักษ์ใต้
แก้ไขคำนาม
แก้ไขเคย
- กะปิ
- เคยกุ้ง
- เคยปลา[ทำจากปลา]
- เคยน้ำพริก[สำหรับทำน้ำพริกโดยเฉพาะ]
- เคยแกง[สำหรับทำแกงโดยเฉพาะ]
- เคยตาดำ[ทำจากกุ้งเคยชนิดมีนัยน์ตาสีดำ เคยมีสีออกดำ]
- เคยตาแดง[ทำจากกุ้งเคยชนิดมีนัยน์ตาสีแดง เคยมีสีออกแดง]
- เคยคั่ว[หลนกะปิ]
- เคยจี่[กะปิย่าง]
- เคย อวัยวะเพศผู้หญิง[คำสะแลง]
ภาษาอีสาน
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (ขอนแก่น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kʰɤːj˧˦˩/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: เค่ยสูง-ตก (ประมาณ)
คำนาม
แก้ไขเคย