ดูเพิ่ม: เกลอ และ เกลื้อ

ภาษาไทย

แก้ไข
 
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia
 
(1) เกลือ

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *klwɯəᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩖᩮᩬᩥᩋ (กเลอิอ), ภาษาเขิน ᨠᩮᩬᩨ (เกอื), ภาษายอง ᨠᩮᩬᩥ, ภาษาอีสาน เกือ หรือ เกีย, ภาษาลาว ເກືອ (เกือ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦂᦲ (เกี), ภาษาไทดำ ꪹꪀ (เก), ภาษาไทขาว ꪀꪷ, ภาษาไทใหญ่ ၵိူဝ် (เกิว), ภาษาไทใต้คง ᥐᥫ (เกอ̂), ภาษาพ่าเก ကိုဝ် (กึว์), ภาษาอาหม 𑜀𑜢𑜤𑜈𑜫 (กึว์), ภาษาจ้วง gyu, ภาษาจ้วงแบบหนง gow, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gwe, ภาษาตั่ย cưa; เทียบภาษาลักเกีย kjie⁵¹

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เกฺลือ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงglʉʉa
ราชบัณฑิตยสภาkluea
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/klɯa̯˧/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

เกลือ

  1. วัตถุที่มีรสเค็ม ใช้ประกอบอาหารเป็นต้น โดยทั่วไปได้มาจากน้ำทะเล
  2. (เคมี) สารประกอบซึ่งประกอบด้วยโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะกับอนุมูลกรด
  3. (ภาษาปาก, สแลง) รางวัลที่ไร้ค่า (เช่นจากกาชา)

คำพ้องความ

แก้ไข

คำเกี่ยวข้อง

แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำสลับอักษร

แก้ไข