หมู่
ภาษาไทยแก้ไข
รากศัพท์แก้ไข
ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩪ᩵ (หมู่), ภาษาลาว ໝູ່ (หมู่), ภาษาไทลื้อ ᦖᦴᧈ (หฺมู่), ภาษาไทใหญ่ မူႇ (มู่), ภาษาอาหม 𑜉𑜥 (มู) , ภาษาจ้วง muq (หมู่-พวก)
การออกเสียงแก้ไข
การแบ่งพยางค์ | หฺมู่ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mùu |
ราชบัณฑิตยสภา | mu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /muː˨˩/(สัมผัส) |
คำนามแก้ไข
หมู่
- กลุ่มชนิดเดียวกัน, พวกชนิดเดียวกัน (คำลักษณนาม หมู่)
- หมู่ดาว
- หมู่เมฆ
- หมู่มนุษย์
- หมู่โจร
- กำลังพลของทหาร ตำรวจ เป็นต้น ที่มีจำนวนไม่เกิน 10 คน (คำลักษณนาม หมู่)
- ระยะเวลา
- หมู่นี้สุขภาพไม่ค่อยดี
- หมู่นั้นไม่ว่าง
- คอแดง, ชื่องูลายสาบชนิด Rhabdophis subminiatus ในวงศ์ Colubridae ตัวสีเขียวหรือเทา คอสีแดง ออกหากินเวลากลางวัน มีพิษอ่อน (คำลักษณนาม ตัว)
คำเกี่ยวข้องแก้ไข
ภาษาคำเมืองแก้ไข
การออกเสียงแก้ไข
- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /muː˨˩/
คำนามแก้ไข
หมู่
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨾᩪ᩵ (หมู่)
ภาษาแสกแก้ไข
รากศัพท์แก้ไข
จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰmuːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หมู, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩪ (หมู), ภาษาลาว ໝູ (หมู), ภาษาไทลื้อ ᦖᦴ (หฺมู), ภาษาไทดำ ꪢꪴ (หฺมุ), ภาษาไทใต้คง ᥛᥧᥴ (มู๋), ภาษาไทใหญ่ မူ (มู), ภาษาอาหม 𑜉𑜥 (มู), ภาษาจ้วง mou, ภาษาปู้อี mul
คำนามแก้ไข
หมู่
ภาษาอีสานแก้ไข
คำนามแก้ไข
หมู่