ภาษาไทยแก้ไข

การออกเสียงแก้ไข

การแบ่งพยางค์โอ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงoo
ราชบัณฑิตยสภาo
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔoː˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1แก้ไข

คำนามแก้ไข

โอ

  1. ส้มโอ
  2. ชื่อลูกจันชนิดหนึ่ง

รากศัพท์ 2แก้ไข

คำนามแก้ไข

โอ

  1. ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในวงศ์ Thunnidae อยู่เป็นฝูง ห่างฝั่ง รูปร่างเพรียวคล้ายกระสวย บริเวณฐานครีบหูมีกลุ่มเกล็ดเล็ก ๆ ครีบหางเว้าลึก เช่น โอหม้อ หรือ โอดำ (Thunnus tonggol) โอลาย (Euthynnus affinis)

รากศัพท์ 3แก้ไข

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC ʔəu); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩋᩰ (โอ) หรือ (โอ), ภาษาลาว ໂອ (โอ); เทียบภาษามอญ အော (โอ)

คำนามแก้ไข

โอ

  1. ภาชนะเครื่องเขินอย่างหนึ่งสำหรับใส่ของ รูปคล้ายขัน มีขนาดต่าง ๆ, ต่อมาได้อนุโลมเรียกขันเคลือบทรงสูงว่า ขันโอ
    ถ้วยโถโอชาม

รากศัพท์ 4แก้ไข

เลียนเสียงธรรมชาติ

คำอุทานแก้ไข

โอ

  1. คำที่เปล่งออกมาแสดงอาการว่านึกอะไรขึ้นมาได้ หรือแสดงว่าสลดใจเป็นต้น

รากศัพท์ 5แก้ไข

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ o (ชื่อเรียกอักษร O)

คำนามแก้ไข

โอ

  1. อักษรละติน O/o

ดูเพิ่มแก้ไข

รากศัพท์ 6แก้ไข

ตัดมาจาก โอเค, จากภาษาอังกฤษ OK (ตกลง) ย่อมาจาก all correct (ครบถ้วนถูกต้อง)

คำกริยาแก้ไข

โอ

  1. อยู่ในเกณฑ์ดี
  2. เห็นด้วย, ตกลง

คำอุทานแก้ไข

โอ

  1. เห็นด้วย, ตกลง

ภาษากฺ๋องแก้ไข

การออกเสียงแก้ไข

คำนามแก้ไข

โอ

  1. คน