ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ตอด
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtɔ̀ɔt
ราชบัณฑิตยสภาtot
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tɔːt̚˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากไทดั้งเดิม *tɔːtᴰ; ร่วมเชื้อสายกับอีสาน ตอด, ลาว ຕອດ (ตอด), คำเมือง ᨲᩬᨯ (ตอด), เขิน ᨲᩬᨯ (ตอด), ไทลื้อ ᦎᦸᧆᧈ (ต่อ̂ด), ไทดำ ꪔꪮꪒ (ตอด), ไทขาว ꪔꪮꪒ, ไทใหญ่ တွတ်ႇ (ต่อ̂ต), ไทใต้คง ᥖᥩᥖᥱ (ต่อ̂ต), อาหม 𑜄𑜨𑜄𑜫 (ตอ̂ต์), จ้วง duet/duek

คำกริยา

แก้ไข

ตอด (คำอาการนาม การตอด)

  1. อาการที่ปลาขนาดเล็กใช้ปากงับเหยื่อเป็นต้นนิดหนึ่งแล้วดึงมาโดยเร็ว
  2. อาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น
    ลูกคนนี้งานการไม่ทำ คอยแต่ตอดเงินพ่อแม่
  3. โดยปริยายหมายถึงอาการเหน็บแนมเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่หยุดหย่อน
    เขาคงไม่ชอบฉัน เลยตอดฉันอยู่เรื่อย

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับลาว ຕອດ (ตอด)

คำนาม

แก้ไข

ตอด

  1. (ร้อยกรอง) ต้นสลอด
    ตอดต่อจับไม้ตอด ตับคาลอดพงคา
    (ลอ)

รากศัพท์ 3

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ตอด

  1. การบรรเลงดนตรีแบบหนึ่ง ใช้สำหรับการเป่าปี่ ทำเสียงกระตุกสั้นสลับจังหวะทำนอง เรียกว่า ลูกตอด
  2. ในการบรรเลงแตรวงมีการใช้แตรเป่าเป็นจังหวะ เรียกว่า แตรตอด

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ตอด (คำอาการนาม ก๋ารตอด หรือ ก๋านตอด)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨲᩬᨯ (ตอด)