ภาษาไทย แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰlɯəmꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩖᩮᩬᩥ᩶ᨾ (หเลอิ้ม), ภาษาเขิน ᩉᩖᩮᩨ᩶ᨾ (หเลื้ม), ภาษาอีสาน เหลื้อม, ภาษาลาว ເຫຼື້ອມ (เหลื้อม), ภาษาไทลื้อ ᦵᦜᦲᧄᧉ (เหฺลี้ม), ภาษาไทดำ ꪹꪨ꫁ꪣ (เหฺล้ม), ภาษาไทใหญ่ လိူမ်ႈ (เลิ้ม), ภาษาไทใต้คง ᥘᥫᥛᥲ (เล้อ̂ม), ภาษาอาหม 𑜎𑜢𑜤𑜉𑜫 (ลึม์)

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์เลื่อม
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlʉ̂ʉam
ราชบัณฑิตยสภาlueam
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/lɯa̯m˥˩/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์ แก้ไข

เลื่อม (คำอาการนาม ความเลื่อม)

  1. เป็นเงามัน

คำประสม แก้ไข

คำนาม แก้ไข

เลื่อม

  1. วัสดุสำหรับปักลวดลายลงบนผ้า มักมีลักษณะบางเป็นรูปกลมแบนเล็กตรงกลางมีรู เป็นเงามันสำหรับใช้ปักลวดลาย เช่นเสื้อโขนตัวทศกัณฐ์ พระราม พระลักษมณ์เป็นต้น