ดูเพิ่ม: ถก, ถัก, ถึก, และ ถืก

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ถูก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงtùuk
ราชบัณฑิตยสภาthuk
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tʰuːk̚˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

เทียบจีนยุคกลาง (MC tsyhowk, “สัมผัส, โดน”); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨳᩪᨠ (ถูก), ปักษ์ใต้ ทู๊ก, อีสาน ถืก, ลาว ຖືກ (ถืก), ไทลื้อ ᦏᦳᧅᧈ (ถุ่ก), เขิน ᨳᩪᨠ (ถูก), ไทใหญ่ ထုၵ်ႇ (ถุ่ก), ไทใต้คง ᥗᥧᥐᥴ (ถู๋ก), อาหม 𑜌𑜤𑜀𑜫 (ถุก์)

คำกริยา

แก้ไข

ถูก (คำอาการนาม การถูก)

  1. โดน, แตะต้อง, สัมผัส
    ถูกเนื้อถูกตัว
  2. เหมาะกัน, เข้ากัน
    ถูกนิสัย
  3. ตรงกันกับ
    ถูกกฎหมาย
    ถูกลอตเตอรี่
  4. (คำกริยานุเคราะห์) เป็นกริยาช่วยแสดงว่าประธานของประโยคเป็นผู้ถูกทำ (มักใช้ในข้อความที่ทำให้ผู้ถูกทำเดือดร้อนหรือไม่พอใจ)
    ถูกเฆี่ยน
    ถูกลงโทษ
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

ถูก

  1. จริง, ชอบ
    ถูกใจ
  2. เหมาะสม, ไม่ผิด
    คิดถูก
    ทำถูก
คำตรงข้าม
แก้ไข

ลูกคำ

แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨳᩪᨠ (ถูก), ปักษ์ใต้ ทู๊ก, อีสาน ถืก, ลาว ຖືກ (ถืก), ไทลื้อ ᦏᦳᧅᧈ (ถุ่ก), เขิน ᨳᩪᨠ (ถูก), ไทดำ ꪖꪴꪀ (ถุก), ไทใหญ่ ထုၵ်ႇ (ถุ่ก), จ้วงแบบหนง tuk

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ถูก (คำอาการนาม ความถูก)

  1. มีราคาต่ำ, ไม่แพง
    ของถูก

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข
คำตรงข้าม
แก้ไข