(เปลี่ยนทางจาก 🈗)
U+5929, 天
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-5929

[U+5928]
CJK Unified Ideographs
[U+592A]

ข้ามภาษาแก้ไข

ลำดับขีด
 

อักษรจีนแก้ไข

(รากคังซีที่ 37, +1, 4 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 一大 (MK), การป้อนสี่มุม 10430, การประกอบ )

  1. ฟ้า, ที่เกี่ยวกับท้องฟ้า
  2. สวรรค์, ที่เกี่ยวกับสวรรค์
  3. เทวดา, เทพเจ้า

อ้างอิงแก้ไข

  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 248 อักขระตัวที่ 4
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 5833
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 500 อักขระตัวที่ 2
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 1 หน้า 522 อักขระตัวที่ 1
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+5929

ภาษาจีนแก้ไข

ตัวย่อและตัวเต็ม

การออกเสียงแก้ไข


หมายเหตุ:
  • thiⁿ - vernacular;
  • thian - literary.
หมายเหตุ:
  • tin1 - vernacular;
  • tiêng1/tiang1 - literary (tiêng1 - Chaozhou).
  • อู๋
  • เซียง

  • สัมผัส
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/1
    ต้นพยางค์ () (6)
    ท้ายพยางค์ () (85)
    วรรณยุกต์ (調) Level (Ø)
    พยางค์เปิด/ปิด (開合) Open
    ส่วน () IV
    ฝ่านเชี่ย
    Baxter then
    การสืบสร้าง
    เจิ้งจาง ซ่างฟาง /tʰen/
    พาน อู้ยฺหวิน /tʰen/
    ซ่าว หรงเฟิน /tʰɛn/
    เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /tʰɛn/
    หลี่ หรง /tʰen/
    หวาง ลี่ /tʰien/
    เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /tʰien/
    แปลงเป็นจีนกลาง
    ที่คาดหมาย
    tiān
    แปลงเป็นกวางตุ้ง
    ที่คาดหมาย
    tin1
    ระบบแบกซ์เตอร์ซาการ์ 1.1 (2014)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/2 2/2
    ปักกิ่งใหม่
    (พินอิน)
    tiān xiān
    จีนยุคกลาง ‹ then › ‹ xen ›
    จีนเก่า /*l̥ˁi[n]/ /*l̥ˁi[n]/ (W dialect: l̥ˁ- > Hàn-time *xˁ- > MC x-)
    อังกฤษ heaven heaven

    Notes for Old Chinese notations in the Baxter–Sagart system:

    * Parentheses "()" indicate uncertain presence;
    * Square brackets "[]" indicate uncertain identity, e.g. *[t] as coda may in fact be *-t or *-p;
    * Angle brackets "<>" indicate infix;
    * Hyphen "-" indicates morpheme boundary;

    * Period "." indicates syllable boundary.
    ระบบเจิ้งจาง (2003)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/1
    หมายเลข 12387
    ส่วนประกอบ
    สัทศาสตร์
    กลุ่มสัมผัส
    กลุ่มย่อยสัมผัส 1
    สัมผัสจีนยุคกลาง
    ที่สอดคล้อง
    จีนเก่า /*qʰl'iːn/

    คำนามแก้ไข

    1. ท้องฟ้า; สวรรค์
        ―  tiānkōng  ―  ท้องฟ้า
    2. สภาพอากาศ; สภาพภูมิอากาศ
      /   ―  tiān  ―  สภาพอากาศ
    3. กลางวัน
        ―  báitiān  ―  เวลากลางวัน
    4. ฤดูกาล
      [จีนมาตรฐาน, ตัวเต็ม and ตัวย่อ]
      chūntiān, xiàtiān, qiūtiān, dōngtiān [พินอิน]
      ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว
    5. ธรรมชาติ
      /   ―  tiānzāi  ―  ภัยพิบัติทางธรรมชาติ

    คำพ้องความแก้ไข

    คำประสมแก้ไข

    คำสืบทอดแก้ไข

    ซีโน-เซนิก ():

    ภาษาญี่ปุ่นแก้ไข

     
    วิกิพีเดียภาษาญี่ปุ่นมีบทความเกี่ยวกับ:
    Wikipedia ja

    คันจิแก้ไข

    (เคียวอิกุกันจิระดับ 1)

    1. สวรรค์, ท้องฟ้า

    การอ่านแก้ไข

    คำประสมแก้ไข

    รากศัพท์ 1แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    あま
    ระดับ: 1
    คุนโยะมิ

    สืบทอดจากภาษาญี่ปุ่นเก่า. รูปต่อปรากฏในคำประสมเท่านั้น.[1][2] เทียบกับการสร้าง (ma, รูปต่อในคำประสม) และ (me, รูปเดี่ยว), (ta, รูปต่อในคำประสม) และ (te, รูปเดี่ยว).

    การออกเสียงแก้ไข

    คำนามแก้ไข

    (อะมะ) (ฮิระงะนะ あま, โรมะจิ ama)

    1. (โบราณ) ท้องฟ้า
    2. (โบราณ) สวรรค์
    3. พื้นที่ด้านบน เตาทำครัว
    ลูกคำแก้ไข

    รากศัพท์ 2แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    あめ
    ระดับ: 1
    คุนโยะมิ

    ⟨ame2 → */aməj//ame/

    สืบทอดจากภาษาญี่ปุ่นเก่า จากการแผลงคำจากama ข้างบน[1]

    การออกเสียงแก้ไข

    คำนามแก้ไข

    (อะเมะ) (ฮิระงะนะ あめ, โรมะจิ ame)

    1. (โบราณ) ท้องฟ้า
    2. (โบราณ) สวรรค์
    3. (โบราณ) หลังคาของพระราชวัง
    ลูกคำแก้ไข

    รากศัพท์ 3แก้ไข

    คันจิในศัพท์นี้
    てん
    ระดับ: 1
    อนโยะมิ

    จากภาษาจีนยุคกลาง (MC tʰen, “sky; heavens”). เทียบกับการอ่านภาษาจีนกลางปัจจุบัน tiān.

    การออกเสียงแก้ไข

    คำนามแก้ไข

    (เท็ง) (ฮิระงะนะ てん, โรมะจิ ten)

    1. ท้องฟ้า
    2. สวรรค์
    3. (metaphorically) เทพเจ้า, โชคชะตา
    ลูกคำแก้ไข

    อ้างอิงแก้ไข

    1. 1.0 1.1 2531 (1988), 国語大辞典(新装版) (Kokugo Dai Jiten, ฉบับปรับปรุงใหม่) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: โชงะกุกัง
    2. 2.0 2.1 2.2 2006, 大辞林 (Daijirin), Third Edition (in Japanese), Tōkyō: Sanseidō, →ISBN
    3. 3.0 3.1 2541 (1998), NHK日本語発音アクセント辞典 (พจนานุกรมสำเนียงการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นโดยเอ็นเอชเค) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: เอ็นเอชเค, →ISBN