ดูเพิ่ม: สำ

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์สา
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsǎa
ราชบัณฑิตยสภาsa
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/saː˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาบาลี สาน (หมา); เทียบภาษาสันสกฤต श्वन् (ศฺวนฺ, หมา)

คำนาม

แก้ไข

สา

  1. หมา

รากศัพท์ 2

แก้ไข

จากภาษาคำเมือง สา (ต้นกระสา), ภาษาจ้วง sa (ใน go sa (กอสา)), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง sa (ใน maex sa (ไม้สา))

คำนาม

แก้ไข

สา

  1. ต้นกระสา
  2. ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า กระดาษสา

รากศัพท์ 3

แก้ไข

จากภาษาอีสาน สา (งูหลายชนิด)

คำนาม

แก้ไข

สา

  1. ชื่องูหลายชนิดในหลายวงศ์ เช่น สาเหลือง หมายถึง งูลายสอบ้าน (Xenochrophis piscator) สาขาว หมายถึง งูทับสมิงคลา (Bungarus candidus) สาคอแดง หมายถึง งูลายสาบคอแดง (Rhabdophis subminiatus)

รากศัพท์ 4

แก้ไข

คำสันธาน

แก้ไข

สา

  1. แม้ว่า, หาก
    สาอวรอรวนิดา โดยพี่มานี
    (หริภุญชัย)

รากศัพท์ 5

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

สา

  1. (ภาษาปาก) เหมาะ, สม [1]
    สาใจ
    สาแก่ใจ
    สาสม

รากศัพท์ 6

แก้ไข

ตัดมาจาก สามี

คำนาม

แก้ไข

สา

  1. (ภาษาปาก, สแลง, ขำขัน) ผัว


ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

สา

  1. ต้นกระสา

ภาษาบาลี

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

สา ญ.

  1. เมีย
การผันรูป
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

สา

  1. กรรตุการก เอกพจน์ของ สนฺ (หมา)
  2. กรรตุการก/สัมโพธนการก พหูพจน์ของ สนฺ (หมา)

รากศัพท์ 3

แก้ไข

คำสรรพนาม

แก้ไข

สา

  1. กรรตุการก เอกพจน์ของ ตา (เขา)

ภาษาปักษ์ใต้

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

สา (คำอาการนาม ก่านสา)

  1. รู้สึก
    สาว่า ใส่เคยลงไปในแกงแล้วนิ
    รู้สึกว่า ใส่กะปิลงไปในหม้อแกงแล้ว

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

สา (คำอาการนาม ขว่ามสา)

  1. เดียงสา
    เด็กมันญังบ่ฮู้สาทีนิ
    เด็กมันยังไม่รู้เดียงสา

ภาษาอีสาน

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

สา

  1. ชื่องูหลายชนิดในหลายวงศ์
  1. พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร