U+4E01, 丁
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-4E01

[U+4E00]
CJK Unified Ideographs
[U+4E02]
U+319C, ㆜
IDEOGRAPHIC ANNOTATION FOURTH MARK

[U+319B]
Kanbun
[U+319D]

ภาษาร่วม แก้ไข

ลำดับขีด
 

รากศัพท์ แก้ไข

รูปในอดีตของตัวอักษร
ร. ชาง ร. โจวตะวันตก ยุควสันตสารท ยุครณรัฐ ซัวเหวินเจี่ยจื้อ (แต่งใน ร. ฮั่น) ลิ่วซูถ่ง (แต่งใน ร. หมิง) ลี่เปี้ยน (แต่งใน ร. ชิง)
อักษรกระดูกเสี่ยงทาย รอยจารึกสัมฤทธิ์ รอยจารึกสัมฤทธิ์ รอยจารึกสัมฤทธิ์ อักษรไหมและซีกไม้รัฐฉู่ อักษรซีกไม้ฉิน อักษรประทับเล็ก อักษรโบราณคัดลอก Clerical script
                 





References:

Mostly from Richard Sears' Chinese Etymology site (authorisation),
which in turn draws data from various collections of ancient forms of Chinese characters, including:

  • Shuowen Jiezi (small seal),
  • Jinwen Bian (bronze inscriptions),
  • Liushutong (Liushutong characters) and
  • Yinxu Jiaguwen Bian (oracle bone script).

แม่แบบ:liushu: เล็บ

ปัจจุบันคำว่า "เล็บ" ใช้คำว่า /

อักษรจีน แก้ไข

(รากคังซีที่ 1, +1, 2 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 一弓 (MN), การป้อนสี่มุม 10200, การประกอบ )

  1. ชายวัยผู้ใหญ่
  2. แข็งแรง, ทนทาน
  3. อักษรตัวที่สี่ของอักษรภาคสวรรค์
  4. สกุลจีนหนึ่ง

อ้างอิง แก้ไข

  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 75 อักขระตัวที่ 3
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 2
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 135 อักขระตัวที่ 1
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 1 หน้า 2 อักขระตัวที่ 5
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+4E01

ภาษาจีน แก้ไข

ตัวย่อและตัวเต็ม

การออกเสียง แก้ไข


  • ข้อมูลภาษาถิ่น
สำเนียง สถานที่ 丁 (姓)
จีนกลาง ปักกิ่ง /tiŋ⁵⁵/
ฮาเอ่อร์ปิน /tiŋ⁴⁴/
เทียนจิน /tiŋ²¹/
จี่หนาน /tiŋ²¹³/
ชิงเต่า /tiŋ²¹³/
เจิ้งโจว /tiŋ²⁴/
ซีอาน /tiŋ²¹/
ซีหนิง /tiə̃⁴⁴/
อิ๋นชวน /tiŋ⁴⁴/
หลานโจว /tĩn³¹/
อุรุมชี /tiŋ⁴⁴/
อู่ฮั่น /tin⁵⁵/
เฉิงตู /tin⁵⁵/
กุ้ยหยาง /tin⁵⁵/
คุนหมิง /tĩ⁴⁴/
หนานจิง /tin³¹/
เหอเฝย์ /tin²¹/
จิ้น ไท่หยวน /tiəŋ¹¹/
ผิงเหยา /tiŋ¹³/
ฮูฮอต /tĩŋ³¹/
อู๋ เซี่ยงไฮ้ /tiŋ⁵³/
ซูโจว /tin⁵⁵/
หางโจว /tin³³/
เวินโจว /teŋ³³/
หุย เซ่อเสี้ยน /tiʌ̃³¹/
ถุนซี /tɛ¹¹/
เซียง ฉางชา /tin³³/
เซียงถาน /tin³³/
กั้น หนานชาง /tiɑŋ⁴²/
แคะ เหมยเซี่ยน /ten⁴⁴/
เถาหยวน /ten²⁴/
กวางตุ้ง กวางเจา /teŋ⁵³/
หนานหนิง /teŋ⁵⁵/
ฮ่องกง /tiŋ⁵⁵/
หมิ่น เซี่ยเหมิน (หมิ่นใต้) /tiŋ⁵⁵/
ฝูโจว (หมิ่นตะวันออก) /tiŋ⁴⁴/
เจี้ยนโอว (หมิ่นเหนือ) /taiŋ⁵⁴/
ซัวเถา (หมิ่นใต้) /teŋ³³/
ไหโข่ว (หมิ่นใต้) /ʔdeŋ²³/

สัมผัส
อักขระ
การออกเสียงที่ 1/2 2/2
ต้นพยางค์ () (9) (5)
ท้ายพยางค์ () (117) (125)
วรรณยุกต์ (調) Level (Ø) Level (Ø)
พยางค์เปิด/ปิด (開合) Open Open
ส่วน () II IV
ฝ่านเชี่ย
แบกซเตอร์ treang teng
การสืบสร้าง
เจิ้งจาง ซ่างฟาง /ʈˠɛŋ/ /teŋ/
พาน อู้ยฺหวิน /ʈᵚæŋ/ /teŋ/
ซ่าว หรงเฟิน /ȶɐŋ/ /tɛŋ/
เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /ʈəɨjŋ/ /tɛjŋ/
หลี่ หรง /ȶɛŋ/ /teŋ/
หวาง ลี่ /ȶæŋ/ /tieŋ/
เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /ȶæŋ/ /tieŋ/
แปลงเป็นจีนกลาง
ที่คาดหมาย
zhēng dīng
แปลงเป็นกวางตุ้ง
ที่คาดหมาย
zang1 ding1
ระบบแบกซ์เตอร์ซาการ์ 1.1 (2014)
อักขระ
การออกเสียงที่ 1/3 2/3 3/3
ปักกิ่งใหม่
(พินอิน)
dīng dīng zhēng
จีนยุคกลาง ‹ teng › ‹ teng › ‹ trɛng ›
จีนเก่า /*tˁeŋ/ /*tˁeŋ/ /*tˁreŋ/
อังกฤษ 4th heavenly stem nail (n.) sound of beating

Notes for Old Chinese notations in the Baxter–Sagart system:

* Parentheses "()" indicate uncertain presence;
* Square brackets "[]" indicate uncertain identity, e.g. *[t] as coda may in fact be *-t or *-p;
* Angle brackets "<>" indicate infix;
* Hyphen "-" indicates morpheme boundary;

* Period "." indicates syllable boundary.
ระบบเจิ้งจาง (2003)
อักขระ
การออกเสียงที่ 1/2 2/2
หมายเลข 2372 2378
ส่วนประกอบ
สัทศาสตร์
กลุ่มสัมผัส
กลุ่มย่อยสัมผัส 0 0
สัมผัสจีนยุคกลาง
ที่สอดคล้อง
จีนเก่า /*rteːŋ/ /*teːŋ/
หมายเหตุ
  • คำอ่านภาษาไทย: ติง, เจิง (จีนกลาง)

คำนาม แก้ไข

  1. ผู้ชาย
  2. ประชากร, สมาชิกในครอบครัว
  3. ลูกบาศก์
  4. อักษรตัวที่สี่ของอักษรภาคสวรรค์
  5. สกุลจีนหนึ่ง

คำคุณศัพท์ แก้ไข

  1. ที่สี่, ลำดับที่สี่

คำประสม แก้ไข

อ้างอิง แก้ไข