ดูเพิ่ม: แล่ และ แล้

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์แล
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlɛɛ
ราชบัณฑิตยสภาlae
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/lɛː˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับปักษ์ใต้ แล, อีสาน แล, ลาว ແລ (แล), คำเมือง ᩃᩯ (แล), เขิน ᩃᩯ (แล), ไทลื้อ ᦶᦟ (แล), ไทดำ ꪵꪩ (แล), อาหม 𑜎𑜦𑜧 (เล), จ้วง lez (แล, มอง, ดู)

คำกริยา

แก้ไข

แล (คำอาการนาม การแล)

  1. (สกรรม) ดู, มอง
    สองตาก็ไม่อยากแล
    เหลียวซ้ายแลขวา
  2. ทอดตาดูเพื่อให้รู้ให้เห็น, มักใช้เข้าคู่กับคำ ดู หรือ เห็น เป็น แลดู แลเห็น
คำสืบทอด
แก้ไข
  • เขมร: លែ (แล)

รากศัพท์ 2

แก้ไข

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

แล

  1. อาการที่ทิ้งไว้นานโดยไม่ใส่ใจ, แร ก็ว่า
    กับข้าวทิ้งแลไว้บนโต๊ะไม่มีคนกิน
    ของวางแลไม่มีคนซื้อ

คำอนุภาค

แก้ไข

แล

  1. ทีเดียว, ฉะนี้, (มักใช้ในที่สุดประโยคหรือข้อความ หรือคำลงท้ายคำประพันธ์)
    ยมพะบาลจับผู้หญิงผู้ชายจำให้ขึ้นจำให้ลงหากันดั่งนั้นหลายคาบหลายคราลำบากนักหนาแล
    (ไตรภูมิ)
    ห่อนข้าคืนสม แม่แล ฯ
    (เตลงพ่าย)

รากศัพท์ 3

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับลาว ແລະ (และ), ไทลื้อ (แหฺล), ไทใหญ่ လႄႈ (แล้), อาหม 𑜎𑜦𑜧 (เล)

คำสันธาน

แก้ไข

แล

  1. รูปที่เลิกใช้ของ และ
    ให้ประกาศแก่พระราชวงศานุวงศ์แลข้าราชการผู้ใหญ่ผู้น้อยฝ่ายหน้าฝ่ายในแลราษฎรในกรุงแลหัวเมืองให้ทราบทั่วกัน
    (ประกาศ ร. 4)
    ฝูงเทพยดาถือค้อนแลตระบองเทียรย่อมแก้วมณีรัตนะเป็นบริวาร
    (ไตรภูมิ)

ภาษากะเหรี่ยงโปเหนือ

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

แล

  1. ใบไม้, ใบตอง

ภาษาปักษ์ใต้

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

แล (คำอาการนาม ก่านแล)

  1. (สกรรม) ดู, มอง

คำพ้องความ

แก้ไข

อ้างอิง

แก้ไข
  • แล” ใน Central Southern Thai Dictionary (Kaewkhao, Uthai และ Kiatboonyarit, Tawan: ประเทศไทย: US Peace Corps 1986), หน้าที่ 10