ดูเพิ่ม: , ด̱ี, ดี, ดี้, ดี๋, ดุ, ดุ๊, และ ดู่

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ˀduːᴬ³; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ດູ (ดู), ภาษาคำเมือง ᨯᩪ (ดู), ภาษาไทดำ ꪒꪴ (ดุ), ภาษาไทใหญ่ လူ (ลู), ภาษาพ่าเก ꩫူ (นู), ภาษาอาหม 𑜎𑜥 (ลู), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง ndu (ใน ndaej ndu (ได้ดู-มองเห็น) (Daxin))

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ดู
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงduu
ราชบัณฑิตยสภาdu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/duː˧/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

ดู (คำอาการนาม การดู)

  1. (สกรรม) ใช้สายตาเพื่อให้เห็น
    ดูภาพ, ดูละคร
  2. (สกรรม) ระวังรักษา
    ดูบ้านให้ด้วย
    ไม่มีคนดูเด็ก
  3. (สกรรม) พินิจพิจารณา
    ดูให้ดี
  4. (สกรรม) ศึกษาเล่าเรียน
    ดูหนังสือ
  5. (สกรรม) เห็นจะ
    ดูจะเกินไปละ
  6. (สกรรม) ทำนาย
    ดูโชคชะตาราศี

คำพ้องความ

แก้ไข
ใช้สายตาเพื่อให้เห็น

คำประสม

แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

ดู

  1. ใช้ประกอบกริยาเพื่อให้รู้ให้เห็นประจักษ์แจ้ง
    คิดดูให้ดี
    ลองกินดู