ดูเพิ่ม: แจง, แจ่ง, และ แจ๋ง

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨧᩯ᩠᩶ᨦ (แจ้ง), ภาษาเขิน ᨧᩯ᩠᩶ᨦ (แจ้ง), ภาษาอีสาน แจ้ง, ภาษาลาว ແຈ້ງ (แจ้ง), ภาษาไทลื้อ ᦶᦈᧂᧉ (แจ้ง), ภาษาไทดำ ꪵꪊ꫁ꪉ (แจ้ง), ภาษาไทใหญ่ ၸႅင်ႈ (แจ้ง)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์แจ้ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงjɛ̂ɛng
ราชบัณฑิตยสภาchaeng
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕɛːŋ˥˩/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

แจ้ง (คำอาการนาม การแจ้ง)

  1. แสดงให้รู้, บอกให้รู้
    แจ้งความประสงค์

คำคุณศัพท์

แก้ไข

แจ้ง (คำอาการนาม ความแจ้ง)

  1. กระจ่าง, สว่าง, ชัด
    แจ้งใจ

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
คำกริยา
แก้ไข

แจ้ง (คำอาการนาม ก๋ารแจ้ง หรือ ก๋านแจ้ง)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨧᩯ᩠᩶ᨦ (แจ้ง)
คำคุณศัพท์
แก้ไข

แจ้ง (คำอาการนาม กำแจ้ง หรือ ความแจ้ง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨧᩯ᩠᩶ᨦ (แจ้ง)

รากศัพท์ 2

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
คำกริยา
แก้ไข

แจ้ง (คำอาการนาม ก๋ารแจ้ง หรือ ก๋านแจ้ง)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨩᩯ᩠᩵ᨦ (แช่ง)